2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
เป้าหมาย ร้อยละ 98 ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 2 บริการเฉพาะ ข้อที่ 25 ร้อยละความสำเร็จของข้อร้องเรียนของผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาตามที่กำหนด.
สมุทรปราการ นายวิญญู หมั่นการ นายนิพนธ์ เนยเมืองปัก
ความปลอดภัยอาหาร Food Safety
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
การดำเนินงาน อาหารแปรรูปในภาชนะพร้อมจำหน่าย (primary GMP)
ได้รับการตรวจคัด กรองความเสี่ยง  เกณฑ์ ที่สปสช. กำหนด ประชากร 15 ปีขึ้นไป กลุ่ม Non UC ร้อยละ 50 กลุ่ม UC ร้อยละ 50  เกณฑ์ที่ดำเนินการ กลุ่มข้าราชการ.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
อาหารกลางวันในโรงเรียน
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 6 – 7 กรกฎาคม 2558
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
Royal project and Government project พระบิดาแห่งชาวโคนมไทย.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
สถานการณ์ด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม. สถานการณ์การออกเทศบัญญัติ / ข้อกำหนด เทศ บัญญัติ / ข้อกำหน ด กาฬสินธุ์ (%) ขอนแก่ น (%) มหาสารคา ม (%) ร้อยเอ็ ด (%)
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ การตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ นพ.มรุต จิรเศรษฐสิริ ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขตสุขภาพที่ 10.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
สรุปผลงาน2558 –แนวทาง 2559 ประชุมพนักงานเจ้าหน้าที่งานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์ 20 ตุลาคม 2558 สุธิดา บุญยศ เภสัชกรชำนาญการ.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
งาน Palliative care.
คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
EB9 (3) มีการประชุมหรือสัมมนาหรือแลกเปลี่ยนความรู้ภายในหน่วยงาน เพื่อให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่เจ้าหน้าที่ หรือไม่
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ประชุมงาน คบส.อำเภอ ปี พฤศจิกายน 2559 ภญ.สุธิดา บุญยศ
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
กลุ่มเกษตรกร.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
การนิเทศจังหวัด รอบ 2 ปี 2561
จังหวัดสมุทรปราการ.
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานสำเร็จบรรลุเป้าหมาย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
2.ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : การเข้าถึงบริการโรคสมาธิสั้นร้อยละ 9
การประชุมคณะทำงานพัฒนามาตรฐานงานเภสัชกรรมในโรงพยาบาล และหน่วยบริการปฐมภูมิ ครั้งที่ 1/2562 ณ ห้องประชุมเหล็กน้ำพี้
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ บรรจุที่ปิดสนิท, น้ำแข็งบริโภค 1.1 ร้อยละของสถานที่ ผลิตน้ำบริโภคและน้ำแข็ง บริโภคได้มาตรฐาน ( ร้อย ละ 100) อยู่ในช่วงกำลัง ดำเนินงาน ม. ค – มิ. ย.59 และกำหนด แผนปฏิบัติการดังนี้ 1. ประชุมผู้ประกอบการ ที่ตกมาตรฐานและราย ใหม่ ก. พ ออกตรวจ ม. ค.- มิ. ย ประสานพื้นที่จัดหา ชุด si2 และวางแผน เก็บตัวอย่างตรวจจาก ร้านจำหน่าย ม. ค. – มี. ค ร้อยละของผลิตภัณฑ์ น้ำบริโภคและน้ำแข็ง บริโภคได้คุณภาพ ( ร้อยละ 100) 1.3 ร้อยละของน้ำบริโภค และน้ำแข็งบริโภค ณ สถานที่จำหน่าย ได้ มาตรฐาน ( ร้อยละ 80)

3 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตัวชี้วัดผลงาน 2. การกำกับดูแลคุณภาพ มาตรฐานและ ความปลอดภัยของนมโรงเรียน 2.1 ร้อยละของสถานที่ผลิต นมโรงเรียนได้มาตรฐาน ( ร้อยละ 100) 100% ผ่าน มาตรฐาน 1 แห่ง 2.2 ร้อยละของผลิตภัณฑ์ นมโรงเรียน ได้มาตรฐาน ตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ร้อยละ 100) 100% ผ่าน มาตรฐาน 2 ชนิด (UHT, พาสเจอไรส์ ) 2.3 ร้อยละของโรงเรียน ผ่านมาตรฐานการจัดการ การเก็บรักษาตามระบบ Cold chain และความ ปลอดภัยนมโรงเรียน ( ร้อย ละ 100) อยู่ในช่วงดำเนินงาน ( นำร่องในปี 2559 อย่างน้อย อำเภอละ 1 แห่งรวม 11 แห่ง เพื่อเป็นต้นแบบ

4 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตัวชี้วัดผลงาน 3. การจัดการปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพผิดกฎหมาย ร้อยละของโฆษณาด้าน สุขภาพที่ผิดกฎหมาย ได้รับการจัดการ ( ร้อยละ 100) อยู่ระหว่างดำเนินการ 4. การดำเนินงานของคณะกรรมการคุ้มครอง ผู้บริโภคของจังหวัด มีการดำเนินการตามแผน คบส. จังหวัดและ คณะกรรมการเป็นกลไก หลักในการดำเนินงาน คบส. ของจังหวัด มีคณะกรรมการ, อนุกรรมการ / มีสรุป ทบทวนผลการ ดำเนินงาน 58/ มี แนวทางการแก้ไข ปัญหาและแผนงานการ พัฒนา 59/ ผลการ ดำเนินงานอยู่ระหว่าง ดำเนินการ

5 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตัวชี้วัดผลงาน 5. คลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงาม ได้รับการเฝ้าระวังและสถานพยาบาลที่ กระทำผิด กฎหมายได้รับการดำเนินการตามกฎหมาย 5.1 ร้อยละของคลินิกเวช กรรมที่ให้บริการด้านเสริม ความงาม ได้รับการเฝ้าระวัง และตรวจมาตรฐานตามที่ กฎหมายกำหนด ( ร้อยละ 100) ร้อยละ 100 (2 แห่ง ) 5.2 ร้อยละของเรื่องร้องเรียน สถานพยาบาลที่กระทำผิด กฎหมายได้รับการดำเนินการ ตามกฎหมาย ( ร้อยละ 100) ไม่มี

6 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ ๑. น้ำบริโภคและการน้ำแข็ง ส่วนกลางไม่ได้ระบุผู้รับผิดชอบ การในการตรวจ ณ สถานที่ จำหน่ายที่ชัดเจน ๒. นมโรงเรียน ยังขาดนโยบายระดับประเทศที่ต้องให้ทุก ภาคส่วน คือเขตพื้นที่การศึกษา ท้องถิ่น ปศุสัตว์ ผู้ผลิต ผู้ขนส่งให้ความสำคัญในการ จัดการความปลอดภัยนมโรงเรียน ระบบ cold chain ร่วมกันและ ขาดงบในการตรวจ วิเคราะห์นมโรงเรียน ๓. อย. ควรประสานงานกับ กสทช. เพื่อให้สถานีวิทยุแต่ละ จังหวัดอัดเทปรายการเก็บรักษาไว้ และมอบให้สสจ. แต่ละจังหวัดเป็นผู้ตรวจ ๔. ให้มีตำแหน่งนักกฎหมายประจำกลุ่มงานคุ้มครอง ผู้บริโภค นวัตกรรม ๑. การตรวจนมโรงเรียนร่วมกับกิจกรรมอย. น้อย โดยให้ บันทึกกราฟอุณหภูมิโดยนักเรียน ๒. โฆษณา สสจ. จัดทำข้อตกลง mou ร่วมกัน ระหว่าง สถานีวิทยุให้มีการโฆษณาที่ถูก กฎหมายเท่านั้น ๓. การกำหนดงานคุ้มครองผู้บริโภคเป็นภาระงานหลักลงใน เกณฑ์เภสัชปฐมภูมิในรพสต. ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ ๑. น้ำบริโภคและการน้ำแข็ง ส่วนกลางไม่ได้ระบุผู้รับผิดชอบ การในการตรวจ ณ สถานที่ จำหน่ายที่ชัดเจน ๒. นมโรงเรียน ยังขาดนโยบายระดับประเทศที่ต้องให้ทุก ภาคส่วน คือเขตพื้นที่การศึกษา ท้องถิ่น ปศุสัตว์ ผู้ผลิต ผู้ขนส่งให้ความสำคัญในการ จัดการความปลอดภัยนมโรงเรียน ระบบ cold chain ร่วมกันและ ขาดงบในการตรวจ วิเคราะห์นมโรงเรียน ๓. อย. ควรประสานงานกับ กสทช. เพื่อให้สถานีวิทยุแต่ละ จังหวัดอัดเทปรายการเก็บรักษาไว้ และมอบให้สสจ. แต่ละจังหวัดเป็นผู้ตรวจ ๔. ให้มีตำแหน่งนักกฎหมายประจำกลุ่มงานคุ้มครอง ผู้บริโภค นวัตกรรม ๑. การตรวจนมโรงเรียนร่วมกับกิจกรรมอย. น้อย โดยให้ บันทึกกราฟอุณหภูมิโดยนักเรียน ๒. โฆษณา สสจ. จัดทำข้อตกลง mou ร่วมกัน ระหว่าง สถานีวิทยุให้มีการโฆษณาที่ถูก กฎหมายเท่านั้น ๓. การกำหนดงานคุ้มครองผู้บริโภคเป็นภาระงานหลักลงใน เกณฑ์เภสัชปฐมภูมิในรพสต.

การดำเนินการทางกฎหมาย รายการ / จำนวนคดี ปี 56 ปี 57 ปี 58 ปี 59 อาหาร ( อาหาร ผิด มาตรฐาน ) ปรับ 12 ราย ปรับ 15 ราย ปรับ 6 ราย - ยา ( ไม่จัดทำ บัญชี ) ปรับ 1 ราย ปรับ 1 ราย ปรับ 16 ราย พัก ใบอนุญาต 1 ราย ( ยา แก้ไอ ) เครื่องสำอ าง ( ต้องห้าม ) - 6 ตย. ( แจ้ง ตักเตือ น ) ปรับ 4 ราย ฟ้อง ศาล 2 ราย - 7 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง