งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 6 – 7 กรกฎาคม 2558

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 6 – 7 กรกฎาคม 2558"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 6 – 7 กรกฎาคม 2558
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ รอบที่ 2/2558 คณะที่ 4 ด้านระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ และด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 6 – 7 กรกฎาคม 2558

2 ประเด็นการตรวจราชการ
1.ด้านระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ 1.1 มีคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพระดับเขตดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ที่กำหนด 1.2 มีการคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงาน เพื่อพัฒนาระบบงานคุ้มครองผู้บริโภคสุขภาพระดับจังหวัด 1.3 ร้อยละของเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน ณ สถานที่ผลิต ผ่านมาตรฐานตามประกาศฯ กำหนด(20-40 ppm) (เป้าหมาย:ร้อยละ 100) 1.4 ร้อยละของการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหารเสริมและสถานพยาบาลผิดกฎหมายได้รับการจัดการ (เป้าหมาย:ร้อยละ 100) 1.5 ร้อยละของคลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงามและคลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลได้รับการเฝ้าระวังและให้ดำเนินการตามกฎหมาย (เป้าหมาย:ร้อยละ 98) 2.ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 2.1 คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) ทุกจังหวัด ดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่และแนวทางที่กำหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3 คณะอนุกรรมการการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพระดับเขต
เป้าหมาย เพื่อเป็นกลไกในการกำหนดยุทธศาสตร์ แนวทาง การดำเนินงาน คบส.ของเขต ตลอดจนให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆที่เกี่ยวข้องกับงานคุ้มครองผู้บริโภคสุขภาพระดับเขต ต่อคณะกรรมการเขตสุขภาพ (Regional Health Board)

4 1.1 มีคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ระดับเขตดำเนินการตามอำนาจ หน้าที่ที่กำหนด
ข้อกำหนดมาตราการดำเนินงานในพื้นที่ 1.มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการระดับเขต 2.วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา จัดทำแผนยุทธศาสตร์ /แผนปฏิบัติการ 3.ดำเนินการตามแผน 4.ติดตามควบคุมกำกับและประเมินผล 5.สรุปผลการดำเนินงาน และจัดทำข้อเสนอ

5 1.1 มีคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ระดับเขตดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ที่กำหนด
ผลการดำเนินงานของเขต มีคำสั่งคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 1 มีการจัดประชุมคณะอนุกรรมการฯ ครั้งแรก วันที่ 9 มีนาคม 2558 มอบหมายให้คณะทำงานทั้ง 3 ด้าน (ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ สถานพยาบาล และการโฆษณา) ทำหน้าที่สรุปทบทวนและจัดทำข้อเสนอแนวทางและแผนการดำเนินงานในแต่ละด้านให้คณะอนุกรรมการพิจารณาในครั้งต่อไป

6 ยึดหลักแนวทางการแก้ไขปัญหาในพื้นที่และการพัฒนาร่วมกันทั้งจังหวัด
1.2 มีคณะอนุกรรมการฯเพื่อพัฒนากลไกการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคสุขภาพระดับจังหวัด ยึดหลักแนวทางการแก้ไขปัญหาในพื้นที่และการพัฒนาร่วมกันทั้งจังหวัด 1.มีคณะอนุกรรมการดำเนินการตามกฎหมายของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และคณะทำงานการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข 2.มีการวิเคราะห์ข้อมูลผลการดำเนินงาน ปี 2557 3.กำหนดนโยบายและแผนการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพระดับจังหวัด 4.มีการสร้างความเข้มแข็งให้กับเจ้าหน้าที่ ผู้ประกอบการ และผู้บริโภค 5. มีการพัฒนาเครือข่ายงานคุ้มครองผู้บริโภคสู่ระดับอำเภอ 6. มีระบบการจัดการเรื่องร้องเรียนด้านบริการและผลิตภัณฑ์สุขภาพ 7. มีระบบติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน

7 ประเด็นปัญหาด้านผลิตภัณฑ์ สถานพยาบาล สิ่งแวดล้อมและสุขภาพของจังหวัด
ลำดับ ผลิตภัณฑ์ สถานพยาบาล สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 1 การใช้ยาในชุมชน - 2 การโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพทางวิทยุชุมชน

8 ผลการดำเนินงานแก้ไขปัญหา
จัดทำโครงการการใช้ยาปลอดภัยในชุมชน - คัดเลือกตำบลโหล่งขอด อำเภอพร้าว เป็นตำบลนำร่อง และจัดประชุมภาคีเครือข่าย การใช้ยาปลอดภัยในชุมชน วันที่ ๑๔ พ.ค. 58 ซึ่งส่วนใหญ่เป็น อสม./ผู้นำชุมชน ที่จะเป็นผู้สำรวจข้อมูล และเป็นแกนนำเครือข่ายดำเนินการในชุมชน - สำรวจข้อมูลแหล่งกระจายยา และข้อมูลการใช้ยาในครัวเรือน ในชุมชน และลงข้อมูลในฐานข้อมูล (อยู่ระหว่างการประมวลผล)

9 ผลการตรวจสถานประกอบการและผลิตภัณฑ์ที่เป็นปัญหา
ประเด็น เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ตรวจ ผ่าน ร้อยละ สถานที่ผลิตน้ำบริโภค 377 345 343 99.42 ผลิตภัณฑ์น้ำบริโภค 190 179 69 60 (รอผล) 57.98 สถานที่ผลิตน้ำแข็ง 33 27 26 96.30 ผลิตภัณฑ์น้ำแข็ง 24 11 45.83

10 -จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปฏิบัติงานและกำชับด้านกฎหมายแก่เจ้าของกิจการ
1.3 ร้อยละของเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน ณ สถานที่ผลิต ผ่านมาตรฐานตามประกาศฯ กำหนด(20-40 ppm) (เป้าหมาย:ร้อยละ 100) จำนวนสถานที่ผลิตเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน จำนวน 11 แห่ง เป้าหมาย (A) (จำนวนที่เก็บ ตย.) ผลการดำเนินงาน(B) (จำนวนที่ผ่านมาตรฐาน) คิดเป็นร้อยละ (B/A)x100 14 เก็บ 14 ตัวอย่าง ผ่าน 6 ตัวอย่าง 42.85 ปัญหา ผู้ประกอบการยังขาดความตระหนักในการผลิต และให้ความสำคัญด้านหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตน้อย ตลอดจนผู้ปฏิบัติงานในสถานที่ผลิตส่วนใหญ่เป็นต่างด้าว (พม่า) มีปัญหาด้านสุขลักษณะส่วนบุคคล และภาษาในการสื่อสาร ข้อเสนอแนะ -จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปฏิบัติงานและกำชับด้านกฎหมายแก่เจ้าของกิจการ -บังคับใช้กฎหมาย

11 1.4 ร้อยละของการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหารเสริมและสถานพยาบาลผิดกฎหมายได้รับการจัดการ (เป้าหมาย:ร้อยละ 100) ประเด็น ตรวจ ผลการดำเนินงาน ไม่ถูกต้อง มีการจัดการ ร้อยละ การโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหารเสริมและสถานพยาบาลผิดกฎหมายได้รับการจัดการ 10 รายการ 8 100 จังหวัดจัดการทำงานเป็น 4 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 ค้นหาปัญหา ระยะที่ 2 ประชุม/ให้ข้อมูล/ร่วมมือกับเครือข่าย ระยะที่ 3 เฝ้าระวัง ตรวจสอบ ประชาสัมพันธ์ ให้คำแนะนำ ดำเนินคดี (มิย.58 อยู่ในระยะนี้) ระยะที่ 4 ดำเนินการอย่างยั่งยืน จัดทำงานวิจัยร่วมกับคณะเภสัชศาสตร์ มช. โดยดึงให้นักศึกษาเข้ามามีส่วนร่วมในการฟังวิทยุและร่วมวางแผนการแก้ไขปัญหาโฆษณาทางสื่อวิทยุแบบครบวงจรโดยให้หน่วยงานภาคเอกชน และเครือข่ายดำเนินการร่วมกัน ร่วมกับ กสทช. ในการอบรมนายสถานี (เชียงใหม่ ลำพูน แม่ฮ่องสอน ~200 สถานี) ในวันที่ 10 ก.ค. 58

12 ดำเนินการตามกฎหมาย(แห่ง)
1.5 ร้อยละของคลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงามและคลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลได้รับการเฝ้าระวังและให้ดำเนินการตามกฎหมาย (เป้าหมาย:ร้อยละ 98) ประเด็น เป้าหมาย (แห่ง) ตรวจสอบ (แห่ง) ดำเนินการตามกฎหมาย(แห่ง) ร้อยละ 1.5.1 คลินิกเวชกรรมที่ให้บริการเสริมความงามได้รับการตรวจมาตรฐาน 112 แห่ง   70 แห่ง 62.50 1.5.2 เรื่องร้องเรียนคลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล (คลินิกเถื่อน) 20 เรื่อง 100

13 คณะอนุกรรมการสาธารณสุข (อสธจ.)
เชียงใหม่ มีการจัดประชุม อสธจ.แล้ว ๑ ครั้ง ประเด็นสำคัญ เป็นเรื่องการออกข้อกำหนดในประเด็นสำคัญตามกฎหมายสาธารณสุข ได้แก่ - ตลาด สถานที่จำหน่ายอาหาร สถานที่สะสมอาหาร - การจัดการขยะ - ประเด็นที่เป็นปัญหาในจังหวัด(เครื่องทำน้ำอุ่น, การมีและใช้สารโปตัสเซี่ยมคลอเรต เป็นต้น)

14 ประเด็นที่ได้รับการพิจารณาของอสธจ.
ที่ประชุมมีมติให้ท้องถิ่นจังหวัดร่วมกับสาธารณสุขจังหวัดจัดประชุมชี้แจงให้ความรู้เรื่องกฎหมายสาธารณสุขแก่ท้องถิ่นต่างๆ ที่ประชุมให้ความสำคัญกับการดูแลพัฒนาตลาด โดยเฉพาะตลาดประเภทที่ ๒ ให้มีการควบคุมกำกับโดยท้องท้องถิ่นให้มากขึ้น

15 เสนอเพื่อพิจารณา ควรมีความต่อเนื่องของการดำเนินการด้านการประชุมอนุกรรมการสาธารณสุข ควรให้มีคณะทำงานเพื่อผลักดันข้อเสนอ เผยแพร่มติ และติดตามผลการดำเนินงานตามมติ อาจพิจารณานำข้อแนะนำของคณะกรรมการสาธารณสุขมาใช้เป็นเงื่อนไขของท้องถิ่นในการพิจารณาการออกใบอนุญาตหรือต่อใบอนุญาตของท้องถิ่นได้ เช่นเดียวกับที่ จ.เชียงใหม่เคยผลักดันให้ใช้คำแนะนำเรื่องการจัดการฟาร์มสัตว์มาเป็นเงื่อนไขในการออกใบอนุญาต/ต่อใบอนุญาตฟาร์มสัตว์มาแล้ว

16 ขอขอบคุณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
กรมอนามัย กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์


ดาวน์โหลด ppt จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 6 – 7 กรกฎาคม 2558

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google