งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุปผลงาน2558 –แนวทาง 2559 ประชุมพนักงานเจ้าหน้าที่งานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์ 20 ตุลาคม 2558 สุธิดา บุญยศ เภสัชกรชำนาญการ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุปผลงาน2558 –แนวทาง 2559 ประชุมพนักงานเจ้าหน้าที่งานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์ 20 ตุลาคม 2558 สุธิดา บุญยศ เภสัชกรชำนาญการ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปผลงาน2558 –แนวทาง 2559 ประชุมพนักงานเจ้าหน้าที่งานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์ 20 ตุลาคม 2558 สุธิดา บุญยศ เภสัชกรชำนาญการ กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคฯ

2 บทบาทการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพของหน่วยงานสาธารณสุข จังหวัดสุรินทร์

3 สรุปผลงาน/งบประมาณ ปี 2558
ผลงานตามตัวชี้วัดยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ตัวชี้วัด 1. การมีคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงานเพื่อพัฒนาระบบงานคุ้มครองผู้บริโภคสุขภาพระดับระดับจังหวัด 2. ร้อยละของการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหารเสริมและสถานพยาบาลผิดกฎหมาย ได้รับการจัดการ (ร้อยละ 100) 3.ร้อยละของคลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงามและคลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลได้รับการเฝ้าระวังและให้ดำเนินการตามกฎหมาย (ร้อยละ 100) 4.ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสถานประกอบการผลิตอาหารที่ต้องปฏิบัติตามเกณฑ์ PrimaryGMP

4 ตัวชี้วัดหน่วยงานระดับอำเภอ
ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคฯของหน่วยงานระดับอำเภอ การจัดระบบงานคุ้มครองผู้บริโภค ระบบการจัดการเรื่องร้องเรียน ระดับความสำเร็จการตรวจเฝ้าระวัง โฆษณาด้านสุขภาพและโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดกฎหมายได้รับการจัดการ คลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลได้รับการเฝ้าระวังและให้ดำเนินการตามกฎหมาย ระดับความสำเร็จร้านชำที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชนได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดและผ่านเกณฑ์ประเมินร้านชำคุณภาพ รณรงค์ยาปลอดภัยในตำบลเป้าหมาย ร้านชำคุณภาพ ร้อยละของโรงเรียนที่มีกิจกรรมและผ่านเกณฑ์ อย.น้อย

5 สรุปคะแนนตามตัวชี้วัดงานคุ้มครองผู้บริโภค 58
วันที่ กันยายน รหัส ชื่อตัวชี้วัด ระดับการวัด สุรินทร์ ปราสาท สังขะ กาบเชิง ศีขรภูมิ สำโรงทาบ จอมพระ ท่าตูม สนม รัตนบุรี ชุมพลฯ บัวเชด ลำดวน พนมดงรัก เขวาฯ ศรีณรงค์ โนนฯ ค่าเฉลี่ย P91 ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพของหน่วยงานระดับอำเภอ รพ. 3.85 4.79 3.95 3.65 4.01 3.76 4.00 2.15 4.37 3.29 2.02 4.28 2.87 3.09 3.16 2.59 3.41 รหัส ชื่อตัวชี้วัด ระดับการวัด เมือง ปราสาท สังขะ กาบเชิง ศีขรภูมิ สำโรงทาบ จอมพระ ท่าตูม สนม รัตนบุรี ชุมพลฯ บัวเชด ลำดวน พนมดงรัก เขวาฯ ศรีณรงค์ โนนฯ ค่าเฉลี่ย P91 ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพของหน่วยงานระดับอำเภอ สสอ. 3.60 4.17 3.95 3.65 3.84 4.03 3.02 1.38 3.93 3.29 1.72 4.28 2.69 2.10 3.09 3.05 2.88 3.22 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสถานประกอบการผลิตอาหารที่ต้องปฏิบัติตามเกณฑ์ Primary GMP 4.70 5.00 3.00 4.40 3.50 3.80 4.50 4.29 4.15

6 ของหน่วยงานระดับอำเภอ (เกณฑ์เป้าหมาย ระดับ 3 ขึ้นไป)
ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ ของหน่วยงานระดับอำเภอ (เกณฑ์เป้าหมาย ระดับ 3 ขึ้นไป) คะแนนเฉลี่ย รพ สสอ คะแนนประเมินตัวชี้วัดงาน คบ.ปี 2558

7 ระดับความสำเร็จของการจัดระบบงานคุ้มครองผู้บริโภค
ระบบงาน หมายถึง กลไกการ ทำงาน คบส.และ ระบบ จัดการเรื่อง ร้องเรียน (ผลิตภัณฑ์ +บริการ สุขภาพ) ของอำเภอ

8 สรุปผลงานปี 2558 สรุปการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ปีงบประมาณ 2558 ลำดับ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ จำนวน จำนวนร้านชำ กิจกรรมงานคุ้มครองผู้บริโภคใน รพ.สต. จำนวน รพสต. หมายเหตุ รพ.สต. ร้านชำปี57 ที่ตรวจปี58 ข้อมูล/ทะเบียน ตรวจสอบ/ ตรวจสอบโฆษณาสื่อสิ่งพิมพ์ (รพสต.) จำนวน รพสต.(แห่ง) การให้ความรู้/อบรม (ดูจากแผนฯรพสต.) ร้านชำคุณภาพ(แห่ง) มีกิจกรรม3ใน4เกณฑ์ ร้านชำตรวจผ่านเกณฑ์ (แห่ง) ร้านชำ เฝ้าระวังร้านชำ ที่มีกิจกรรมตรวจสอบโฆษณา ประชาชน/ผปก. จาก รายงาน คบส. 1 เมือง 24 2,269 2,170 ü 17 รพ.สต. 677 17 ผ่านเกณฑ์ 1,947 แห่ง 2 จอมพระ 11 351 387 X 3 ท่าตูม 425 376 1 รพ.สต. 6 4 ชุมพลบุรี 13 391 ไม่ใช้ข้อมูลร้านชำคุณภาพ 5 รัตนบุรี 15 519 529 12 รพ.สต. 32 12 ศีขรภูมิ 21 992 995 3 รพ.สต. ผ่านเกณฑ์954 แห่ง 7 สำโรงทาบ 318 306 ไม่ระบุชัดเจน ผ่านเกณฑ์ 278 แห่ง 8 สังขะ 18 973 6 รพ.สต. 264 ผ่านเกณฑ์539 แห่ง 9 ลำดวน 181 213 5 รพ.สต. 10 สนม 448 120 รวมทั้งอำเภอ ปราสาท 23 1,205 1,203 8 รพ.สต. 112 ผ่านเกณฑ์ 1,175 แห่ง กาบเชิง 377 30 บัวเชด 227 196 ผ่านเกณฑ์168 แห่งน้อยกว่าร้านชำคุณภาพ 14 เขวาสินรินทร์ 355 *ไม่ส่งรง.คบส. ศรีณรงค์ 317 290 ผ่านเกณฑ์252 แห่ง 16 โนนนารายณ์ 277 7 รพ.สต. ผ่านเกณฑ์ 273 แห่ง พนมดงรัก 219 250 ผ่านเกณฑ์212 แห่ง รวม 210 9,660 8,674 16 อำเภอ 9 อำเภอ 52 79 1,503 98 ร้อยละ ร้อยละ 47.14

9 ระบบงานและบุคลากร สรุปผู้รับผิดชอบงานคุ้มครองผู้บริโภคระดับอำเภอ ปี 2558 อำเภอ พนง.จนท.รพ. พนง.จนท.สสอ. จนท.รพ.สต. การดำเนินงาน-รวบรวมตัวชี้วัด เมือง / X ปราสาท สังขะ กาบเชิง ศีขรภูมิ สำโรงทาบ รวบรวมตัวชี้วัด จอมพระ ท่าตูม สนม รัตนบุรี ชุมพลบุรี บัวเชด ลำดวน พนมดงรัก เขวาสินรินทร์ ศรีณรงค์ โนนนารายณ์

10 โฆษณาด้านสุขภาพและโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดกฎหมายได้รับการจัดการ
การตรวจสอบโฆษณา หมายถึง โฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อวิทยุกระจายเสียง

11 ให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลได้รับการเฝ้าระวังและให้ดำเนินการตามกฎหมาย
ร้อยละของคลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงามและคลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาต ให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลได้รับการเฝ้าระวังและให้ดำเนินการตามกฎหมาย (ร้อยละ 100) จำนวนคลินิกที่เป็น เป้าหมาย(แห่ง) จำนวนคลินิกที่ได้รับการ ตรวจและผ่านมาตรฐาน ร้อยละ จำนวนคลินิกที่ไม่ได้รับ อนุญาต(แห่ง/อำเภอ) การดำเนินการตามกฎหมาย(แห่ง/ ร้อยละ) 176 100 12 แห่ง / 4 อำเภอ (ปราสาท, พนมดงรัก,รัตนบุรี และ ศีขรภูมิ) 11 แห่ง ร้อยละ (อีก 1 แห่ง อยู่ระหว่างจังหวัดดำเนินการเอง)

12 ระดับความสำเร็จร้านชำที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชนได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดและผ่านเกณฑ์ประเมินร้านชำคุณภาพ

13 ระดับความสำเร็จร้านชำที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชนได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดและผ่านเกณฑ์ประเมินร้านชำคุณภาพ ตำบลที่มีกิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชน ปี 2558 อำเภอ ตำบล หมายเหตุ เมือง ในเมือง เขตPCU รพ.สุรินทร์ ปราสาท ตำบลตานี สังขะ ตำบลสังขะ(รพ.สต.โดง) กาบเชิง ตำบลด่าน(รพสต.เกษตรถาวร) ศีขรภูมิ ตำบลระแงง สำโรงทาบ ตำบลเสม็จ จอมพระ ตำบลจอมพระ ท่าตูม ไม่มีกิจกรรม สนม ตำบลสนม รัตนบุรี ชุมพลบุรี ตำบลชุมพลบุรี บัวเชด ทั้ง 6 ตำบล(ภาพรวมอำเภอ) ลำดวน ตำบลโชกเหนือ พนมดงรัก ตำบลบักได เขวาสินรินทร์ ตำบลตากูก ศรีณรงค์ ตำบลศรีสุข โนนนารายณ์

14 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสถานประกอบการผลิตอาหารที่ต้องปฏิบัติตามเกณฑ์ PrimaryGMP
แผนภูมิที่ 4

15 จำนวนสถานประกอบการ primaryGMP-2558
เมือง ปราสาท สังขะ กาบเชิง ศีขรภูมิ สำโรงทาบ จอมพระ ท่าตูม สนม รัตนบุรี ชุมพลฯ บัวเชด ลำดวน พนมดงรัก เขวาฯ ศรีณรงค์ โนนฯ ระดับคะแนน 4.7 5 3 4.4 3.5 3.8 4.5 4.29 ทั้งหมด(แห่ง) 12 6 8 4 1 2 มีผลตรวจและผ่านเกณฑ์ n/a ร้อยละ 66.67 83.33 #DIV/0! 0.00 62.50 50.00 100.00 #VALUE!

16 Best Practices งานคุ้มครองผู้บริโภค
กระบวนการแก้ไขปัญหาคบ.ในชุมชนโดยการบูรณาการหน่วยงาน กรณีตัวอย่าง อำเภอกาบเชิง - ปัญหาในบริบทชุมชน ความเชื่อและวัฒนธรรม -ปัญหากรณีบริบทพื้นที่ชายแดน กรณีตัวอย่างการทำงานเครือข่าย อำเภอบัวเชด อำเภอปราสาท สร้างเครือข่ายการเฝ้าระวังในตำบล เชื่อมโยงการทำงานแก้ไข ปัญหาการใช้ยาที่ไม่เหมาะสม

17 ชวนคิด/วิเคราะห์งาน ปัญหา วิธีการ เป้าหมาย

18 ปัญหาในการปฏิบัติงานปีที่ผ่านมา
ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะจากที่ประชุม

19 ทบทวนวิธีการ ปริมาณงาน วิธีการ คุณภาพ
ทบทวนตรวจสอบข้อมูลพื้นฐานในงานคุ้มครองผู้บริโภค จัดเก็บให้เป็นระบบและสะดวกในการใช้งาน จัดทำปฏิทินการปฏิบัติงานร่วมกัน วิธีการ กำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน เหมาะสม และมีความเป็นไปได้ เลือกวิธีการหรือแนวทางที่เหมาะสมกับเวลาและบริบทพื้นที่ (ประสานการทำงาน) คุณภาพ ตรวจสอบผลการปฏิบัติและปรับปรุงวิธีการปฏิบัติ สรุปวิเคราะห์ผลงาน

20 คิดก่อนทำ..การกำหนดเป้าหมาย
ตารางเพื่อการกำหนดเป้าหมาย สิ่งที่ต้องทำให้สำเร็จ สิ่งที่ต้องรักษาไว้ สิ่งที่ต้องหลีกเลี่ยง สิ่งที่ต้องกำจัด ต้องการ เราต้องการสิ่งนี้หรือไม่ ไม่ต้องการ ยังไม่มี มีแล้ว เรามีสิ่งนี้หรือยัง?

21 ตัวอย่าง. วิเคราะห์ปัญหาการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ อำเภอ
ตัวอย่าง......วิเคราะห์ปัญหาการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ อำเภอ จังหวัดสุรินทร์ ประเด็น ปี 2556 (ร้อยละ) ปี 2557 ปี 2558 หมายเหตุ สรุปประเด็นปัญหาสำคัญ ;

22 (ตัวอย่าง)สรุปข้อมูลสถานการณ์การดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์
ปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพ ยาแผนโบราณพบ สเตียรอยด์ปลอมปน การขายยาอันตราย ยาชุดและยาปฏิชีวนะ ในร้านชำ ขนมแบ่งบรรจุไม่มีฉลาก/ฉลากไม่ถูกต้อง เครื่องสำอางพบสารห้ามใช้/ฉลากไม่ถูกต้อง ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ถูกต้องในตลาดการค้าชายแดนช่องจอม อ.กาบเชิง การตรวจมาตรฐานเฉพาะ คลินิกเวชกรรมที่ให้บริการเสริมความงามยังไม่ครบตามแบบตรวจ ระบบการจัดการเรื่องร้องเรียนในระดับอำเภอยังไม่ชัดเจน ระบบการจัดเก็บข้อมูลงานตรวจเฝ้าระวังยังไม่เชื่อมโยงข้อมูลในการนำมาใช้ประโยชน์

23 และยังมีสถานประกอบการที่ผลิตอาหารเกณฑ์GMP ไม่รักษามาตรฐานการผลิต
(ตัวอย่าง)การวิเคราะห์ปัญหาการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ประเด็นปัญหาสำคัญ ; ผลการตรวจวิเคราะห์อาหารที่ได้มาตรฐานและการโฆษณาด้านสุขภาพที่ถูกต้องยังไม่ผ่านเกณฑ์ และยังมีสถานประกอบการที่ผลิตอาหารเกณฑ์GMP ไม่รักษามาตรฐานการผลิต

24 ตัวอย่างแนวคิด-กรอบการทำงานเครือข่าย
เครือข่ายการเฝ้าระวังงานคุ้มครองผู้บริโภค ตำบลตานี อำเภอปราสาท

25 ประชาคมหมู่บ้าน/ จัดทำแผนชุมชน
ที่มาและแนวทางการทำงาน ประชาคมหมู่บ้าน/ จัดทำแผนชุมชน บทบาท อสม. วิเคราะห์ข้อมูลชุมชน ผลงาน ที่ทำ วิธีการแก้ปัญหา สภาพปัญหาสุขภาพ การใช้ยาไม่เหมาะสม ข้อมูลปัญหาสุขภาพจาก รพ.สต.ตานี การใช้สารเคมีในการเกษตร ผลงานเด่น/ ผลงานที่ภาคภูมิใจ นวัตกรรม โฆษณาเกินจริงทางวิทยุชุมชน สร้างเครือข่าย”แกนนำกลุ่มรู้เท่าทันการบริโภคและการโฆษณาชวนเชื่อ”

26 การขับเคลื่อนงานคุ้มครองผู้บริโภคของชุมชนบ้านหนองปรือ ตำบลตานี
ผู้บริโภคปลอดภัย สร้างทางเลือกที่ปลอดภัย ในการบริโภค; เกษตรปลอดสารเคมี กิจกรรมเฝ้าระวังแหล่งจำหน่าย ; ร้านชำ รถเร่ ส่งเสริมความรู้การบริโภคปลอดภัย เครือข่ายรถเร่ ร้านชำคุณภาพ หอกระจายข่าว/ประชุมหมู่บ้าน/ สภาชุมชน ชุมชนต้นแบบ สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย สร้างเครือข่าย”แกนนำกลุ่มรู้เท่าทันการบริโภคและการโฆษณาชวนเชื่อ”

27 ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภคฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน ปี 2559 ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภคฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559

28 Σ (ระดับความสำเร็จของเขต) Σ (ระดับความสำเร็จของจังหวัด)
ตัวชี้วัดการดำเนินงานบูรณาการยุทธศาสตร์พัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภคฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ KPI ระดับกระทรวง KPI ระดับเขตสุขภาพ 1. ระบบการจัดการงานคุ้มครองผู้บริโภค ระดับเขต (ค่าน้ำหนัก = 50%) ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ 2. ตัวชี้วัดเชิงประเด็น ระดับจังหวัด (ค่าน้ำหนักรวมกันให้ได้ 50%) ดังนี้ KPI ระดับ จังหวัด 2.1 ร้อยละของคลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงามได้รับการ เฝ้าระวังและตรวจมาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด (ค่าน้ำหนัก = 5%) 2.2 ร้อยละเรื่องร้องเรียนสถานพยาบาลที่กระทำผิดกฎหมายได้รับดำเนินการตามกฎหมาย (ค่าน้ำหนัก = 5%) 2.3 ระดับความสำเร็จของการสุ่มตรวจสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในผักในตลาดสด (ค่าน้ำหนัก = 4%) 2.4 ร้อยละของผลิตภัณฑ์เกลือบริโภค ณ สถานที่ผลิตมีปริมาณไอโอดีนตามเกณฑ์ที่กำหนด (20 – 40 ppm) (ค่าน้ำหนัก = 2%) 2.5 ร้อยละของสถานที่ผลิตน้ำปลา ผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่ได้จากการย่อยโปรตีนของถั่วเหลืองและน้ำเกลือปรุงอาหารมีระบบควบคุมคุณภาพที่ถูกต้อง (ค่าน้ำหนัก = 2%) 2.6 ร้อยละของสถานที่ผลิตอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่ายกลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาตามแผน (ค่าน้ำหนัก = 8%) 2.7 ระดับความสำเร็จในการขับเคลื่อนกิจกรรมส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชนตำบลนำร่อง (ค่าน้ำหนัก = 8%) 2.8 ร้อยละของการโฆษณาด้านสุขภาพที่ผิดกฎหมายได้รับการจัดการ (ค่าน้ำหนัก = 8%) 2.9 ร้อยละของจำนวนข้อร้องเรียนของผู้บริโภคได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาตามที่กำหนด (ค่าน้ำหนัก = 8%) Σ (ระดับความสำเร็จของเขต) จำนวนเขต Σ (ระดับความสำเร็จของจังหวัด) จำนวนจังหวัด การคิดค่าคะแนน 28

29 เปรียบเทียบปี จำนวนตัวชี้วัดจังหวัด เพิ่มจาก 6 รายการ เป็น 9 รายการ ประเด็นที่ติดตามจากตัวชี้วัด เหมือนปี 2558 แต่มีการเพิ่มตัวชี้วัด 3 รายการ คือ ร้อยละเรื่องร้องเรียนสถานพยาบาลที่กระทำผิดกฎหมายได้รับดำเนินการตามกฎหมาย (ร้อยละ 100) 2. ระดับความสำเร็จของการสุ่มตรวจสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในผักใน ตลาดสด (ร้อยละ 80) 3. ร้อยละของจำนวนข้อร้องเรียนของผู้บริโภคได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาตามที่กำหนด (ร้อยละ 80) หมายเหตุ KPI Template linkจาก

30 แผนงาน/โครงการปี 2559ต่อเนื่องจากปี58
แผนพัฒนาระบบงาน บุคลากร ผู้ประกอบการและโครงการเฉพาะ พนักงานเจ้าหน้าที่ ประชุม/อบรมความรู้ พนง.จนท.ระดับอำเภอ ประชุมคณะกรรมการด้าน คบ. ผู้ประกอบการ ผู้ประกอบธุรกิจ/ดำเนินการวิทยุ โครงการพื้นที่เฉพาะ ส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชน เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพชายแดนไทย-กัมพูชา ประชุมเจ้าหน้าที่ระหว่างประเทศประเด็นคุ้มครองผู้บริโภคฯและภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้าน

31 แผนการตรวจสอบเฝ้าระวัง
แผนงาน/โครงการ ปี2559 แผนการตรวจสอบเฝ้าระวัง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สถานประกอบการ โฆษณา

32 ตำบลเป้าหมายส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชน
แผนงาน/โครงการ ปี2559 ตำบลเป้าหมายส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชน แผนพัฒนาเครือข่าย พัฒนาเครือข่าย เฝ้าระวังในชุมชน นักเรียน (อย.น้อย) ผปก. ร้านชำคุณภาพ

33 THANK YOU กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์ โทร ต่อ 217,219 โทรสาร Facebook


ดาวน์โหลด ppt สรุปผลงาน2558 –แนวทาง 2559 ประชุมพนักงานเจ้าหน้าที่งานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์ 20 ตุลาคม 2558 สุธิดา บุญยศ เภสัชกรชำนาญการ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google