งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ
สรุปการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ จังหวัดน่าน เขตสุขภาพที่ 1 คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ

2 การพัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ
คณะ 4 การพัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ 4.1 ระบบคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ 4.2 ระบบคุ้มครองผู้บริโภคด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

3 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทและน้ำแข็งบริโภค
ประเด็น เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ร้อยละ(ผ่าน) ตก ตรวจ ผ่าน ไม่ผ่าน สถานที่ผลิตน้ำบริโภค 385 379 376 - 99.2 สถานที่ผลิตน้ำแข็ง 32 30 100.0 สถานที่ผลิตรวม 417 409 406 99.3 ผลิตภัณฑ์น้ำบริโภค 394 311 204 107 65.6 pH 53,เคมี6 เชื้อจุลินทรีย์ 63+2 ผลิตภัณฑ์น้ำแข็ง 23 18 5 78.3 ผลิตภัณฑ์รวม น้ำบริโภคและน้ำแข็ง ณ สถานที่จำหน่าย 785 489 296 62.3

4 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทและน้ำแข็งบริโภค
ปัญหาที่พบ แนวทางแก้ไข น้ำบริโภคและน้ำแข็ง ณ สถานที่ผลิตตกมาตรฐาน 1. จัดทำคู่มือ แนะนำวิธีการปรับปรุงกระบวนการผลิตให้แก่เจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ 2. ปรับปรุงกระบวนการผลิต -ล้างเครื่องกรอง เปลี่ยนไส้กรอง /-ล้างถัง ภาชนะบรรจุ การใช้คลอรีน ฆ่าเชื้อ -สุขลักษณะของคนงาน 3.สั่งงดการผลิต ปรับปรุงกระบวนการผลิต เก็บตัวอย่างตรวจซ้ำ 4.ดำเนินคดี เปรียบเทียบปรับ

5 ปัญหาที่พบ แนวทางแก้ไข
จำนวนสถานที่จำหน่าย ในการเฝ้าระวังดูแลคุณภาพน้ำบริโภคและน้ำแข็งบริโภค ยังไม่ครบตามเป้าหมาย จังหวัดสนับสนุนชุดทดสอบในการดำเนินงานและมอบหมายให้สสอ.ประสานกับ รพ.สต. และมีกำหนดระยะเวลาให้ดำเนินการเสร็จ

6 2. การกำกับดูแลคุณภาพ มาตรฐานและความปลอดภัยของนมโรงเรียน
ผลตรวจสอบสถานที่ผลิต และคุณภาพนมโรงเรียน ปี 2559 ประเด็น/จังหวัด เชียง ราย แม่ฮ่อง สอน พะเยา น่าน ใหม่ ลำ ปาง พูน แพร่ สถานที่ผลิต นมโรงเรียน ได้มาตรฐาน เป้าหมาย 1 4 ผลงาน ร้อยละ 100 ผลิตภัณฑ์ 2 7 6 รอ 85.7 มาตรฐานการจัดการ การเก็บรักษาตามระบบ Cold chain 602 ? 242 567 - 185 ตรวจ รอผล 129 อยู่ระหว่างดำเนินการ 236 ผ่าน 93 463 72 81.7 100* * เป้าหมายยังไม่ครอบคลุม

7 2. การกำกับดูแลคุณภาพ มาตรฐานและความปลอดภัยของนมโรงเรียน
ขั้นตอน หลักเกณฑ์ การดำเนินการ เอกสาร ผลิต กระบวนการผลิตได้มาตรฐานตามหลักเกณฑ์ (GMP) ตรวจสอบเฝ้าระวังสถานที่ผลิต 2 ครั้ง/ปี แบบประเมิน ตส. ผลิตภัณฑ์ มีคุณภาพถูกต้องตามประกาศ ส่งตรวจที่ศูนย์วิทย์ 2 ครั้ง/ปี รายงานผลการวิเคราะห์ การขนส่ง มีระบบการขนส่งที่ถูกต้องตามที่กำหนด เช่นการควบคุมอุณหภูมิไม่เกิน 4๐C จำนวนที่บรรจุในถัง ผู้ผลิต/ผู้ขนส่งต้องมีการดำเนินการตามหลักเกณฑ์ในคู่มือ แบบสำรวจ คู่มือนมโรงเรียน การเก็บรักษา นมพาสเจอร์ไรซ์ อุณหภูมิไม่เกิน 4๐C ภาชนะบรรจุเหมาะสม นมUHT จำนวนชั้นที่วางซ้อนไมเกิน 8 ชั้น ไม่ถูกแสง อุณหภูมิห้องเกินไม่เกิน 45๐C ตรวจรับนม เก็บรักษา การแจกให้เด็กรับประทาน แบบเก็บข้อมูลนมโรงเรียน มีข้อมูลเฉพาะจังหวัดพะเยา ลำพูน แพร่ จังหวัดที่เหลือไม่มีข้อมูลว่ากลุ่มงานใดเป็นผู้รับผิดชอบ เสนอให้จังหวัดพิจารณาการมอบหมายผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน ในการเฝ้าระวังในพื้นที่ และหน่วยงานที่จะ รวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์ เพื่อวางแผนการสนับสนุนต่อไป

8 2. การกำกับดูแลคุณภาพ มาตรฐานและความปลอดภัยของนมโรงเรียน
ปัญหาที่พบ แนวทางแก้ไข การดำเนินงานการตรวจระบบcold chain และความปลอดภัยนมโรงเรียน ตั้งแต่ ขบวนการกำหนดตัวชี้วัดที่ยังขาดความ รอบคอบและความเหมาะสม จนถึงการ ปฏิบัติงานในพื้นที่จึงมีความคลาดเคลื่อนในทาง ปฏิบัติ - จังหวัดต้องเร่งดำเนินการให้บรรลุตามเป้าหมาย (ใช้ชุด checklist ตรวจสอบและคู่มือนมโรงเรียน) - ประสาน อปท.ให้ทราบแนวทางเพื่อกำกับดูแล - ผู้นิเทศเสนอข้อความคิดเห็นต่อส่วนกลาง

9 ปัญหาสำคัญของจังหวัด
5. มีการดำเนินการตามแผน คบส.จังหวัดและคณะกรรมการเป็นกลไกหลักในการดำเนินงาน คบส.ของจังหวัด ปัญหาสำคัญของจังหวัด ผลการดำเนินงาน 1.การควบคุมการโฆษณาที่โอ้อวดเกินจริงเช่น วิทยุชุมชน เคเบิ้ลทีวี วารสาร แผ่นพับ โบว์ชัว ไวนิล อยู่ระหว่างการดำเนินการ 2.การตรวจสอบเฝ้าระวังน้ำมันทอดซ้ำในพื้นที่ รวมทั้งสถานที่ผลิตแคบหมู 3.ยาปลอดภัยในชุมชน

10 5. มีการดำเนินการตามแผน คบส
5. มีการดำเนินการตามแผน คบส.จังหวัดและคณะกรรมการเป็นกลไกหลักในการดำเนินงาน คบส.ของจังหวัด ปัญหาที่พบ แนวทางแก้ไข กลไกของคณะทำงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ระดับจังหวัด ยังมีบทบาทไม่มากพอในการผลักดันการแก้ไขปัญหาที่สำคัญของจังหวัด ควรส่งเสริมให้คณะทำงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพระดับจังหวัดมีบทบาทในการแก้ไขปัญหาของจังหวัดมากยิ่งขึ้น ในกำหนดทิศทางการดำเนินคุ้มครองผู้บริโภคฯของจังหวัด โดยการคิดวิเคราะห์ปัญหา วางแผน ติดตามกำกับและประเมินผลการแก้ไขปัญหา

11 ร้อยละของโฆษณาด้านสุขภาพที่ผิดกฎหมายได้รับการจัดการ (ร้อยละ 100) ต. ค
ร้อยละของโฆษณาด้านสุขภาพที่ผิดกฎหมายได้รับการจัดการ (ร้อยละ 100) ต.ค. 58 – มิ.ย. 59 ตัวชี้วัด ตรวจสอบ พบความผิด ได้รับการจัดการ ร้อยละ โฆษณาด้านสุขภาพที่ผิดกฎหมายได้รับการจัดการ (ร้อยละ 100) 88 100 ร้อยละของโฆษณาด้านสถานพยาบาลที่ผิดกฎหมายได้รับการจัดการ (ร้อยละ 100) 11 9 ร้อยละของโฆษณาด้านสุขภาพที่ผิดกฎหมายได้รับการจัดการ (ร้อยละ 100) รวม 2 อย่าง 99 97

12 ผลการดำเนินงาน ต.ค. 58 – มิ.ย. 59
คลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงาม ได้รับการเฝ้าระวังและตรวจมาตรฐานตามที่กฎหมาย(ร้อยละ 100) ผลการดำเนินงาน ต.ค. 58 – มิ.ย. 59 รายการข้อมูล จังหวัด เชียง ราย แม่ฮ่อง สอน พะเยา น่าน ใหม่ ลำ ปาง พูน แพร่ ร้อยละคลินิกเวชกรรมเสริมความงามได้รับการตรวจมาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด (ร้อยละ100) เป้าหมาย 21 3 4 106 18 2 6 ดำเนินการ 72 ร้อยละ 100 67.9 ร้อยละของเรื่องร้องเรียนสถานพยาบาลที่ทำผิดกฎหมายได้รับการดำเนินการตามกฎหมาย(ร้อยละ100) รอบที่ 1 9 1 5 รอบที่ 2

13 ข้อเสนอแนะต่อส่วนกลาง ระเบียบ และกฎหมาย
1) ควรจัดทำคู่มือการเฝ้าระวังการโฆษณาสถานพยาบาลที่ผิดกฎหมาย ในรูปแบบต่าง ๆ โดยมีการยกตัวอย่างประกอบ หรือตัวอย่างที่มีการ ดำเนินการตามกฎหมาย หรือรวบรวมตัวอย่างที่ดำเนินการตามกฎหมายของ แต่ละจังหวัด เพื่อสนับสนุนให้ผู้รับผิดชอบของแต่ละจังหวัดใช้ประกอบการ ดำเนินงานหรือการโฆษณาที่เข้าข่ายผิดกฎหมาย 2) ควรจัดทำคู่มือการร้องเรียน สถานพยาบาลที่กระทำผิดกฎหมาย ได้รับการดำเนินการตามกฎหมาย โดยมีการยกตัวอย่างประกอบ หรือตัวอย่าง ที่มีการดำเนินการตามกฎหมาย

14 ข้อเสนอแนะ 3 ควรมีการชี้แจงกฎ ระเบียบ และกฎหมายใหม่ ๆ โดยการจัดอบรม พัฒนาความรู้ให้กับผู้รับผิดชอบ 4 ควรมีการกำหนดมาตรฐานคลินิกเสริมความงาม ด้านสถานที่ เครื่องมือ เวชภัณฑ์ และผู้ประกอบวิชาชีพ ที่มีความแตกต่างจาก คลินิกเวชกรรมทั่วไป ให้ชัดเจน

15 คณะที่ 4 การพัฒนาระบบงานด้านสุขภาพ
หัวข้อ 4.2 ระบบการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

16 แผนภูมิ สัดส่วนปริมาณมูลฝอยติดเชื้อ
แยกรายจังหวัด หน่วย : ร้อยละ

17 แผนภูมิ สัดส่วนวิธีการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ
แผนภูมิ สัดส่วนวิธีการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ

18 EHA ระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมท้องถิ่น
สิ่งที่น่าสนใจ มีความชัดเจนเรื่องมุ่งพัฒนา มากกว่ามุ่งประเมิน ใช้การประเมินเป็นหนทางสู่ การยอมรับและเชื่อมโยง ท้องถิ่นกับงานสาธารณสุข ระดับอำเภอ เปลี่ยนแรงจูงใจจากคะแนน โบนัสสู่การเป็นที่ปรึกษาและ ที่พึ่งทางวิชาการ เทศบาล 47 แห่ง ผ่าน EHA จำนวน 37 แห่ง ผ่าน EHA จำนวน 1 แห่ง ประเมินไม่ผ่าน EHA จำนวน 9 แห่ง

19 การดำเนินงาน EHA :4001 มูลฝอยทั่วไป

20 การดำเนินงาน อสธจ. (คณะอนุกรรมการสาธารณสุขระดับจังหวัด)
มติ อสธจ.เชียงใหม่ 1.การจัดทำคู่มือแนวทางการยกร่างข้อกำหนดท้องถิ่นตาม พรบ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535 2. การสำรวจเตาเผาขยะทั่วไป 3.การสุ่มตรวจสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 4.การควบคุม และการพัฒนามาตรฐานตลาดสดประเภทที่ 1 และตลาดประเภทที่ 2 ตามมาตรฐานตลาดสดน่าซื้อ 5.การจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎหมาย ปี 2559 จัดประชุมอสธจ. 2 ครั้ง ติดตามมติ 5 เรื่อง

21 ข้อเสนอ บูรณาการแผนการขนส่งมูลฝอยติดเชื้อร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บูรณาการแผนการจัดการมูลฝอยทั่วไปกับหน่วยงานอื่นอาทิ สำนักงานสิ่งแวดล้อมจังหวัด อปท. เพื่อส่งเสริม/ขยายชุมชนปลอดขยะ ให้เกิดการจัดการตั้งแต่แหล่งกำเนิด ลดภาระของท้องถิ่นในการกำจัดขยะ กำกับติดตามอย่างต่อเนื่องประเด็นการจัดการมูลฝอยทั่วไป ผ่านเกณฑ์ EHA : 4001 โดยผ่านคณะอนุกรรมการอสธจ.

22 ขอขอบคุณ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์


ดาวน์โหลด ppt คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google