อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
นายชิดชัย อังคะ ไวมงคล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายมนัส ปรุง ทำนุ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ร. อ. ปกรณ์เดช โลหิตหาญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ.
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ด้านเฝ้าระวัง การ ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ ระหว่างจังหวัดและ สคร.8 วันที่ 1 ธันวาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
แผนงานย่อย “น้ำมันทอดซ้ำเสื่อมสภาพ”
ยินดีต้อนรับคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล กองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
ข้อมูลสถานะสุขภาพ อำเภอสำโรง คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขอำเภอสำโรง.
โรงพยาบาลนามน ขอ ต้อนรับ ด้วยความยินดียิ่ง
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพร้าว
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 35
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
แพทย์หญิงศศิธร ตั้งสวัสดิ์
คณะกรรมการพัฒนาสุขภาพระดับกลุ่มบริการ (คพสก.)
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ยินดีต้อนรับ ทีมประเมินผลงาน รอบ ๖ เดือน ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ คบสจ.พิจิตร
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บจากจราจรทางถนน
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
พื้นที่ทำร้ายตัวเองใหม่(√) ปี๒๕๖๐ ทั้งสำเร็จ-ไม่สำเร็จ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 51
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
อำเภอวังทอง อ.วัดโบสถ์ อ.นครไทย อ.เมือง อ.เนินมะปราง อ.เมืองพิจิตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556 อำเภอเมืองลำพูน 1

พื้นที่รับผิดชอบ อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน ต.อุโมงค์ ต.เหมืองง่า ต.ต้นธง บ้านกลาง ต.บ้านแป้น ต.ประตูป่า ต.มะเขือแจ้ เวียงยอง ต.ป่าสัก ต.หนองช้างคืน ต.เหมืองจี้ ต.ศรีบัวบาน ต.ริมปิง ต.อุโมงค์ ต.หนองหนาม ในเมือง ต.เหมืองง่า บ้านสันมะนะ บ้านหนองหลุม บ้านม้า บ้านป่าซางน้อย บ้านหนองหล่ม สัญลักษณ์ บ้านป่าห้า โรงพยาบาลลำพูน (รพท.) ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (ศสม.) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) เหมืองจี้ 2 2

และผู้ที่มีอายุมากกว่า 60 ปี ร้อยละ 13.91 ปิรามิดประชากรอำเภอเมืองลำพูนปี 2556 ปชก. 143,280 คน ชาย หญิง 67,802 คน 75,478 คน การกระจายตามกลุ่มอายุของเด็กต่ำกว่า 5 ปี ร้อยละ 4.03 ประชากรวัยแรงงาน ร้อยละ 68.35 และผู้ที่มีอายุมากกว่า 60 ปี ร้อยละ 13.91 3

อำเภอเมืองลำพูน การปกครอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 15 ตำบล 15 ตำบล 159 หมู่บ้าน 17 ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เทศบาลเมือง 1 แห่ง เทศบาลตำบล 13 แห่ง อบต. 2 แห่ง 4

อาชีพ * การเกษตร - การทำนา - ลำไย - ปลูกพืชผัก - กระเทียม หอมแดง - กระเทียม หอมแดง * รับจ้าง 5

2 ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง(ศสม.) 2 แห่ง 3. รพ.สต. 16 แห่ง 1. รพ.ทั่วไป 411 เตียง 1 แห่ง 2 ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง(ศสม.) 2 แห่ง 3. รพ.สต. 16 แห่ง (รพ.สต.ขนาดใหญ่) 5 แห่ง 4. ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาล 1 แห่ง 5. โรงพยาบาลเอกชน 2 แห่ง 6

ข้อมูลบุคลากร(สสอ.เมืองลำพูน) จำนวนบุคลากร พยาบาลวิชาชีพ/เวช นวก.สาธารณสุข จพง.สาธารณสุข จพง.ทันตฯ ลูกจ้างอื่นๆ รวมทั้งหมด 22(20) 38 23 3 60 146 รายละเอียด 7

โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ปัญหาการฆ่าตัวตาย โรคไข้เลือดออก วัณโรค 8

ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง จำนวนผู้ดื่ม 27433 คน ร้อยละ 19.23 จำนวนผู้ดื่ม 27433 คน ร้อยละ 19.23 จำนวนผู้ติด 769 คน ร้อยละ 0.53 ร้านจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 1,326 ร้าน ร้านจำหน่ายบุหรี่ จำนวน 854 ร้าน 9

แต่งตั้งคณะกรรมการอำเภอและเครือข่ายตำบลควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๖ 10

การดำเนินงานควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การประชุมชี้แจงร้านค้า 11

การดำเนินงานควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การออกตรวจชี้แจงร้านค้าร่วมกับ รพ.ลำพูน 12

การดำเนินงานควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การออกตรวจชี้แจงปั๊มน้ำมันร่วมกับ รพ.ลำพูน 13

การดำเนินงานควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ตาม พรบ. ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2535 14

การออกตรวจร้านอาหารร่วมกับ รพ. สต. ตาม พรบ. ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ. ศ การออกตรวจร้านอาหารร่วมกับ รพ.สต. ตาม พรบ. ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2535 15

การออกตรวจร้านขายของชำร่วมกับ รพ. สต. ตาม พรบ. ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ การออกตรวจร้านขายของชำร่วมกับ รพ.สต. ตาม พรบ. ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2535 16

การดำเนินงานควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ รณรงค์ในชุมชน 17

การดำเนินงานควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การดำเนินงานหมู่บ้านงานศพปลอดเหล้า 18

การดำเนินงานควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การเฝ้าระวังและบังคับใช้กฏหมาย(วันขึ้นปีใหม่) 19

การดำเนินงานควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การเฝ้าระวังและบังคับใช้กฏหมาย(วันสงกรานต์) 20

การดำเนินงานควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การเฝ้าระวังและบังคับใช้กฏหมาย(วันสงกรานต์) 21

การดำเนินงานควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การเฝ้าระวังและบังคับใช้กฏหมาย(วันสงกรานต์) 22

การดำเนินงานควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การเฝ้าระวังและบังคับใช้กฏหมาย(วันสงกรานต์) 23

จัดสถานที่สาธารณะเป็นเขตปลอดบุหรี่ ตาม พรบ จัดสถานที่สาธารณะเป็นเขตปลอดบุหรี่ ตาม พรบ.คุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ. 2535 24

ออกตรวจการร้องเรียนในสถานที่ราชการการ ตาม พรบ.คุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ. 2535 25

ออกตรวจการร้องเรียนในสถานที่ราชการการ ตาม พรบ.คุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ. 2535 26

ชี้แจงในการประชุมหัวหน้าส่วนราชการ 27

ปัญหาและอุปสรรค 1. ร้านค้าและผู้ประกอบการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบยังไม่ตระหนักถึงการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2. ร้านขายของชำมีแทรกอยู่ในชุมชนง่ายต่อการเข้าถึงและใช้บริการ เป็นการยากที่จะควบคุมให้กระทำตามกฎหมาย 28

ข้อเสนอแนะ 1.ร้านค้าผู้ประกอบการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบควร มีส่วนร่วมในการบังคับใช้กฎหมายควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ มากกว่าที่จะให้ภาครัฐดำเนินการแต่ฝ่ายเดียว 2. ควรมีการประชาสัมพันธ์เชิงรุก ถึงโทษและพิษภัย ของการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ ให้ตรงกับกลุ่มเป้าหมายโดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชน และ กลุ่มวัยแรงงานในนิคมอุตสาหกรรม 3. ควรมีมาตรการสังคมโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 4. สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่ง มีการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง 29

30