การประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 4 กับ มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ. ศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเขียว
Advertisements

ราชบุรี นายประกอบ วงศ์มณีรุ่ง นายวรวุฒิ เจริญเชื้อ
อัตราบรรจุ ข้าราชการ ๒๓๑๘ พนักงาน ราชการ ๔๔ ลูกจ้าง ๘๘ รวม ๓๐ อัตราว่าง ข้าราชการ ตำแหน่ง มาช่วย ราชการ ข้าราชการ ๒ คน ( นางอุทิศ กมโล, นายสหรัตน์ เหราบัตย์
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นางเอื้อมพร วงศ์ สวัสดิ์กุล ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศ.
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นายอธิปัตย์ พ่วง ลาภ โยธาธิการและผัง เมืองจังหวัด นายอนุชา เจริญพันธ์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นายจรัส สุด จันทร์ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพศิน.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา พ. ศ
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทย บริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัด.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์, ฟิสิกส์, เคมี, ชีววิทยา, วิทยาศาสตร์ทั่วไป, จิตวิทยา ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การ ประถมศึกษา, ศิลปศึกษา,
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน.
รศ. ดร. สิทธิชัย แก้วเกื้อกูล คณบดี รศ. สุวรรณา สมบุญสุโข รองคณบดีฝ่ายบริหาร ผศ. ดร. คมกฤตย์ ชมสุวรรณ รองคณบดีฝ่ายวางแผน และพัฒนา รศ. ดร. กุลธิดา ธรรมวิภัชน์
การดำเนินงานตามโครงการ “ หลักสูตรคู่ขนาน ” โรงเรียนกู่กาสิงห์ประชา สรรค์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 27 อัต ลักษ ณ์ เอกลั กษณ์ มีความรู้คู่
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
๑.มีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการบริหาร การศึกษาหรือเทียบเท่าหรือคุณวุฒิอื่นที่คุรุ สภารับรอง โดยมีความรู้ ดังต่อไปนี้ ( ๑ ) หลักและกระบวนการบริหารการศึกษา.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
ความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้ใช้ต่อการบริการของ ฝ่ายหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี Expectation and.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การบริหารหลักสูตร.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ดร. วัฒนาพร ระงับทุกข์ รักษาการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานการศึกษา
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
การจัดสรรงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ 2561
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
การบริหารจัดการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หลักเทคนิคการเขียน SAR
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การประกันคุณภาพการศึกษา
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 4 กับ มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ. ศ การประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 4 กับ มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555 (ปรับปรุง พ.ศ. 2558) ดร. ธีรวรรค์ วระพงษ์สิทธิกุล ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ หน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา https://www.teerawan.wordpress.com

การประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 3 ตัวบ่งชี้ พิจารณาจาก 1 กลุ่มพื้นฐาน (1-30) 70 คะแนน - ผลการจัดการศึกษา (1-6) (ชี้ผลลัพธ์ผลกระทบที่เกิดจากภารกิจสถานศึกษา) การจัดการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (7) การบริหารจัดการศึกษา (8.1,8.2-11) - การประกันคุณภาพภายใน (12-13) 2 กลุ่มอัตลักษณ์ (14) 10 คะแนน - ผลการจัดการศึกษา (14.1-14.2) (ชี้ผลผลิตตามปรัชญา ปณิธานวิสัยทัศน์ พันธกิจและวัตถุประสงค์ของสถานศึกษา รวมถึงความสำเร็จตามจุดเน้นจุดเด่นที่สะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา) 3 กลุ่มมาตรการส่งเสริม (15-18) 20 คะแนน - ผลการจัดการศึกษา (15-16) (ชี้ผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ในการเป็นผู้นำและแก้ปัญหาสังคม) - การบริหารจัดการศึกษา (17-18)

การประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 4 รอบ 3 จำนวนตัวบ่งชี้ กลุ่ม 1 กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน 1-13 กลุ่ม 2 กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ 14 กลุ่ม 3 กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม 15-18 รวม 18 รอบ 4 จำนวนตัวบ่งชี้ ด้านที่ 1 ด้านคุณภาพศิษย์ 4 ด้านที่ 2 ด้านคุณภาพครู/อาจารย์ ด้านที่ 3 ด้านการบริหารธรรมา ภิบาลของสถานศึกษา ด้านที่ 4 ด้านความสัมพันธ์กับชุมชน/สังคม 2 ด้านที่ 5 ด้านการบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ด้านที่ 6 ด้านอัตลักษณ์/เอกลักษณ์ ด้านที่ 7 ด้านมาตรการส่งเสริม รวม 20

ด้านคุณภาพศิษย์ ตัวบ่งชี้ที่ 1 ผู้เรียนเป็นคนดี ตัวบ่งชี้ที่ 2 ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผู้เรียนมีผลงานที่นำไปใช้ประโยชน์ ตัวบ่งชี้ที่ 4 ศิษย์เก่าที่ทำประโยชน์ให้กับสถานศึกษา

ด้านคุณภาพศิษย์ ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบ 4 ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม ด้านคุณภาพศิษย์  ตัวบ่งชี้ที่ 1 ผู้เรียนเป็นคนดี    -ทำงาน ตบช.2.5 ระดับคุณภาพในการฝึกงาน ระดับคุณภาพในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (นอกหลักสูตร) -ทำกิจกรรม ตบช.6.1 ระดับคุณภาพในการปลูกจิตสำนึกด้าน การรักชาติฯ ตบช.6.2 ระดับคุณภาพในการปลูกจิตสำนึกด้าน การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ตบช.6.3 ระดับคุณภาพในการส่งเสริมด้านการกีฬา และนันทนาการ ตบช.6.4 ระดับคุณภาพปลูกจิตสำนึกด้านปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง -บำเพ็ญประโยชน์ ตบช.4.1 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการ การบริการวิชาการและวิชาชีพ

ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม ตัวบ่งชี่ที่ 2 ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร     -ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ICT -ไม่มี- ร้อยละของผู้เรียนชั้นปีสุดท้ายที่มีความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามมาตรฐาน ICT  -ด้านการทดสอบระดับชาติ V-net ตบช.1.4 ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจาก การทดสอบการศึกษาระดับชาติ ตบช.1.5 ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจาก ภาษาอังกฤษ  -ด้านมาตรฐานวิชาชีพ VQ ตบช.1.3 ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์ การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ตบช.1.6 ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์ การทดสอบมาตรฐานอาชีพฯ

ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม -ด้านผู้สำเร็จการศึกษามี งานทำ/ทุนการศึกษาต่อ   ตบช.1.8 ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาได้งานทำ หรือประกอบอาชีพอิสระฯ ตบช.1.9 ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการฯ ต่อคุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา -อัตราการออกกลางคัน Dropout ตบช.1.7 ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรกับ แรกเข้า ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผู้เรียนมีผลงานที่นำไปใช้ ประโยชน์ ตบช.5.1 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการโครงการ สิ่งประดิษฐ์ฯ ของผู้เรียน

ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม ตัวบ่งชี้ที่ 4 ศิษย์เก่าทำประโยชน์ให้กับสถานศึกษา    - กิจกรรมพัฒนา วิชาการ/วิชาชีพ ตบช.5.1 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการ โครงการ สิ่งประดิษฐ์ฯ ของผู้เรียน ร้อยละของศิษย์เก่าที่กลับมาช่วยเหลือและร่วมมือในการพัฒนานวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ -กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตบช.6.1 ระดับคุณภาพในการปลูกจิตสำนึก ด้านการรักชาติฯ ร้อยละของศิษย์เก่าที่กลับมาช่วยเหลือและร่วมมือในการพัฒนาผู้เรียน ตบช.6.2 ระดับคุณภาพในการปลูกจิตสำนึก ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ตบช.6.3 ระดับคุณภาพในการส่งเสริมด้าน การกีฬาและนันทนาการ

ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม ตัวบ่งชี้ที่ 4 ศิษย์เก่าทำประโยชน์ให้กับสถานศึกษา -กิจกรรมพัฒนาวิชาการ/ วิชาชีพ ตบช.5.1 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการ โครงการ สิ่งประดิษฐ์ฯ ของผู้เรียน ร้อยละของศิษย์เก่าที่กลับมาช่วยเหลือและร่วมมือในการพัฒนานวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ -กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน   ตบช.6.1 ระดับคุณภาพในการปลูกจิตสำนึกด้าน การรักชาติฯ ร้อยละของศิษย์เก่าที่กลับมาช่วยเหลือและร่วมมือในการพัฒนาผู้เรียน ตบช.6.2 ระดับคุณภาพในการปลูกจิตสำนึกด้าน การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ตบช.6.3 ระดับคุณภาพในการส่งเสริมด้านการกีฬา และนันทนาการ

ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม -กิจกรรมพัฒนา สถานศึกษา ตบช.3.8 ระดับคุณภาพในการพัฒนาและดูแล สภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ของ สถานศึกษาฯ   -งานสร้างสรรค์สังคม ตบช.4.1 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการ การบริการวิชาการและวิชาชีพ ร้อยละของศิษย์เก่าที่กลับมาช่วยเหลือและร่วมมือในการบริการวิชาการ/วิชาชีพ -การสนับสนุน ทรัพยากร ตบช.3.12 ระดับคุณภาพในการระดมทรัพยากรใน การจัดการอาชีวศึกษากับเครือข่ายฯ -การสนับสนุนการศึกษา

2. ด้านคุณภาพครู/อาจารย์ ตัวบ่งชี้ที่ 5 ครู/อาจารย์มีความรู้ความสามารถ ตัวบ่งชี้ที่ 6 ครู/อาจารย์สร้างสรรค์ห้องเรียน/แหล่งเรียนรู้คุณภาพ ตัวบ่งชี้ที่ 7 ครู/อาจารย์มีผลงานที่นำไปใช้ประโยชน์ ตัวบ่งชี้ที่ 8 ครู/อาจารย์ได้รับการเพิ่มพูนความรู้/ประสบการณ์

ด้านคุณภาพครู/อาจารย์ ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม ด้านคุณภาพครู/อาจารย์  ตัวบ่งชี้ที่ 5 ครู/อาจารย์มีความรู้ความสามารถ ตบช.3.10 ระดับคุณภาพในการพัฒนาครูและ บุคลากรการศึกษา ตบช.1.4 ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจาก การทดสอบการศึกษาระดับชาติ   ตัวบ่งชี้ที่ 6 ครู/อาจารย์สร้างสรรค์ห้องเรียน/แหล่งเรียนรู้คุณภาพ ตบช.3.8 ระดับคุณภาพในการพัฒนาและดูแล สภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ของ สถานศึกษาฯ ตบช.3.9 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์และคอมพิวเตอร์

ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม ตัวบ่งชี้ที่ 7 ครู/อาจารย์มีผลงานที่นำไปใช้ประโยชน์ ตบช.5.2 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ฯ งานวิจัย ของครู   ตัวบ่งชี้ที่ ๘ ครู/อาจารย์ได้รับการเพิ่มพูนความรู้/ประสบการณ์ ตบช.3.10 ระดับคุณภาพในการพัฒนาครูและ บุคลากรการศึกษา ตบช.5.2 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการ

3. ด้านการบริหารธรรมาภิบาลของสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 9 การดำเนินการของคณะกรรมการสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 10 การดำเนินงานของผู้อำนวยการ ตัวบ่งชี้ที่ 11 การบริหารความเสี่ยง ตัวบ่งชี้ที่ 12 การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน

ด้านการบริหารธรรมาภิบาลของสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม ด้านการบริหารธรรมาภิบาลของสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 9 การดำเนินการของคณะกรรมการสถานศึกษา    - การบริหารจัดการที่ดี ตบช.3.1 ระดับคุณภาพในการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการสถานศึกษาฯ - รายงานประจำปี ตบช.3.2 ระดับคุณภาพในการจัดทำแผน การบริหารจัดการสถานศึกษา - ระบบข้อมูล สารสนเทศ ตบช.3.5 ระดับคุณภาพในการบริหารจัด การระบบฐานข้อมูล สารสนเทศ ของสถานศึกษาฯ

ด้านการบริหารธรรมาภิบาลของสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม ด้านการบริหารธรรมาภิบาลของสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐ การดำเนินงานของผู้อำนวยการ    -รายงานงบการเงิน ตบช.3.11 ระดับคุณภาพในการบริหารการเงินและ งบประมาณ -ระบบฐานข้อมูล สารสนเทศ ตบช.3.2 ระดับคุณภาพในการจัดทำแผนการบริหาร จัดการสถานศึกษา ตบช.3.5 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการระบบ ฐานข้อมูล สารสนเทศของสถานศึกษาฯ -การประเมินการ ปฏิบัติงาน ตบช.3.1 ระดับคุณภาพในการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการสถานศึกษาฯ ตบช.3.4 ระดับคุณภาพในการบริหารงานและภาวะผู้นำ ของผู้บริหารสถานศึกษา

ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม ตัวบ่งชี้ที่ 11 การบริหารความเสี่ยง   ตบช.3.6 ระดับคุณภาพในการบริหารความเสี่ยง ตบช.3.7 ระดับคุณภาพในการจัดระบบดูแลผู้เรียน ตัวบ่งชี้ที่ 12 การพัฒนาบุคลากรสายสนันสนุน ตบช.3.10 ระดับคุณภาพในการพัฒนาครูและ บุคลากรการศึกษา

ด้านความสัมพันธ์กับชุมชน/สังคม ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม ด้านความสัมพันธ์กับชุมชน/สังคม  ตัวบ่งชี้ที่ 13 การให้บริการวิชาการ/วิชาชีพที่ส่งผลต่อชุมชน/สังคม ตบช.4.1 ระดับคุณภาพในการบริหาร จัดการการบริการวิชาการและ วิชาชีพ   ตัวบ่งชี้ที่ ๑๔ การให้บริการวิชาการ/วิชาชีพที่ส่งผลต่อสถานศึกษา   -ด้านเอกสารคำสอน ตำรา หนังสือ ตบช.2.2 ระดับคุณภาพในการจัดทำ แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา  -ด้านสิ่งประดิษฐ์ โครงงาน นวัตกรรม ตบช.5.2 ระดับคุณภาพในการบริหาร จัดการนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ฯ งานวิจัยของครู

ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม - แผนงาน ตบช.3.2 ระดับคุณภาพในการจัดทำแผนการบริหาร จัดการสถานศึกษา - รายงานแสดงระบบและกลไก ตบช.7.1 ระดับคุณภาพในระบบการประกันคุณภาพ ภายใน  -ประเมินความพึงพอใจของชุมชน ต่อสถานศึกษา   ตบช.1.2 ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการฯ ต่อคุณภาพของผู้เรียน ตบช.1.9 ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการฯ ต่อคุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา  -เอกสารคำสอน/รายวิชา/ตำรา ตบช.2.2 ระดับคุณภาพในการจัดทำแผนการจัดการ เรียนรู้รายวิชา  -หลักสูตรใหม่ ตบช.2.1 ระดับคุณภาพในการใช้และพัฒนาหลักสูตร ฐานสมรรถนะ  -ปัจจัยความสำเร็จในการบริหาร วิชาการ/วิชาชีพ ตบช.4.1 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการการบริการ วิชาการและวิชาชีพ

5. ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ที่ 15 การส่งเสริมที่สนับสนุนศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ที่ 16 การพัฒนาสุนทรียภาพ

ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม  ตัวบ่งชี้ที่ 15 การส่งเสริมที่สนับสนุนศิลปะและวัฒนธรรม   ตบช.3.11 ระดับคุณภาพในการบริหารการเงินและ งบประมาณ ตบช.6.1 ระดับคุณภาพในการปลูกจิตสำนึกด้านการรักชาติฯ ตัวบ่งชี้ที่ 16 การพัฒนาสุนทรียภาพ   -แผนพัฒนา ตบช.3.2 ระดับคุณภาพในการจัดทำแผนการบริหารจัดการ สถานศึกษา  -อาคารสถานที่ ภูมิสถาปัตย์ สะอาด สวยงาม ตบช.3.8 ระดับคุณภาพในการพัฒนาและดูแล สภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ของสถานศึกษาฯ  -สืบสานประเพณีท้องถิ่น ตบช.6.2 ระดับคุณภาพในการปลูกจิตสำนึกด้านการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

6. ด้านอัตลักษณ์/เอกลักษณ์ ตัวบ่งชี้ที่ 17 อัตลักษณ์ผู้เรียน ตัวบ่งชี้ที่ 18 เอกลักษณ์สถานศึกษา

ด้านอัตลักษณ์/เอกลักษณ์ ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม ด้านอัตลักษณ์/เอกลักษณ์  ตัวบ่งชี้ที่ 17 อัตลักษณ์ผู้เรียน   -ปรัชญา ปณิธาน และ พันธกิจของสถานศึกษา ตบช.3.2 ระดับคุณภาพในการจัดทำแผนการบริหาร จัดการสถานศึกษา    -ระบบและกลไก ตบช.7.1 ระดับคุณภาพในระบบการประกันคุณภาพ ภายใน ตบช.3.3 ระดับคุณภาพในการพัฒนาสถานศึกษา ตามอัตลักษณ์ ตัวบ่งชี้ที่ 18 เอกลักษณ์สถานศึกษา   -การมีส่วนร่วม  -แหล่งเรียนรู้ ตบช.3.8 ระดับคุณภาพในการพัฒนาและดูแล สภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ของสถานศึกษาฯ

7. ด้านมาตรการส่งเสริม ตัวบ่งชี้ที่ 19 มาตรการส่งเสริม (ภายในสถานศึกษา) ตัวบ่งชี้ที่ 20 มาตรการส่งเสริม (ภายนอกสถานศึกษา)

ด้านมาตราการส่งเสริม ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม ด้านมาตราการส่งเสริม  ตัวบ่งชี้ที่ 19 มาตราการส่งเสริม(ภายในถานศึกษา) -ไม่มี- ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบภาษาอังกฤษ ที่เทียบเท่า CEFR* ตัวบ่งชีที่ 20 มาตราการส่งเสริม(ภายนอกสถานศึกษา)     -ระบบและกลไก ตบช.7.1 ระดับคุณภาพในระบบการประกันคุณภาพ ภายใน  -การมีส่วนร่วม ตบช.3.12 ระดับคุณภาพในการระดมทรัพยากรในการ จัดการอาชีวศึกษากับเครือข่ายฯ ตบช.4.1 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการการบริการ วิชาการและวิชาชีพ CEFR* : The Common European Framework of Reference for Languages “กรอบอ้างอิงความสามารถทางภาษาอังกฤษที่เป็นสากล”

กลุ่มส่งเสริมวิชาการ หน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โทรศัพท์/โทรสาร 02-5101823 ต่อ 119,121 phongjar@hotmail.com teewara56@gmail.com https://www.teerawan.wordpress.com