การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
เป้าหมาย ร้อยละ 98 ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 2 บริการเฉพาะ ข้อที่ 25 ร้อยละความสำเร็จของข้อร้องเรียนของผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาตามที่กำหนด.
กลุ่มตรวจการสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี
ความปลอดภัยอาหาร Food Safety
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 6 – 7 กรกฎาคม 2558
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ การตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ นพ.มรุต จิรเศรษฐสิริ ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขตสุขภาพที่ 10.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 16
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
สรุปผลงาน2558 –แนวทาง 2559 ประชุมพนักงานเจ้าหน้าที่งานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์ 20 ตุลาคม 2558 สุธิดา บุญยศ เภสัชกรชำนาญการ.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัด เป้าหมาย เพื่อลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
EB9 (3) มีการประชุมหรือสัมมนาหรือแลกเปลี่ยนความรู้ภายในหน่วยงาน เพื่อให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่เจ้าหน้าที่ หรือไม่
แนวทางการนำเสนอข้อมูลต่อ รวอ. ในวันที่ 2 พฤศจิกายน 2560
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
ประชุมงาน คบส.อำเภอ ปี พฤศจิกายน 2559 ภญ.สุธิดา บุญยศ
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 14
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 15
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
นโยบายการขับเคลื่อน อาหารปลอดภัยของประเทศ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
จุฑารัตน์ สะธรรมกิจ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 วันที่ 26 กันยายน 2557 ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร 1

สภาพปัญหางานบูรณาการคุ้มครองผู้บริโภค จากสถานการณ์และการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและวัฒนธรรมที่ผ่านมา สะท้อนให้เห็นว่ามีผลกระทบต่อระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพและผู้บริโภคเป็นอย่างมาก ได้แก่ สถานบริการ สุขภาพ ผลิตภัณฑ์ สุขภาพ การจัดการ ปัญหาโฆษณา กลไกการ ดำเนินงาน งาน คบส. โฆษณาผลิตภัณฑ์/บริการ/สุขภาพโอ้อวด/ เป็นเท็จ/เกินจริง - โรงพยาบาล คลินิก เอกชนให้บริการ ไม่ได้มาตรฐาน - คลินิกเถื่อน - ผัก ผลไม้ มียาฆ่าแมลงสูง น้ำบริโภค น้ำแข็ง น้ำตู้ปนเปื้อนจุลินทรีย์ - ผลิตภัณฑ์ชุมชนไม่ได้มาตรฐาน - น้ำมันทอดซ้ำ - ปัญหาไอโอดีนในผลิตภัณฑ์ไม่ได้มาตรฐาน - การใช้ยาปฏิชีวนะ/ สเตียรอยด์ไม่เหมาะสม ขาดความชัดเจนการดำเนินงาน คบส.ใน ส่วนภูมิภาค ไม่มีความเป็นเอกภาพเชิงนโยบายระดับเขต นโยบายขาดความต่อเนื่อง/ขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติ ขาดความเชื่อมโยง การดำเนินงานบูรณาการทั้งส่วนกลางและ ส่วนภูมิภาค

มาตรการแผนบูรณาการด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปี 2558 มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด ผลลัพธ์ สร้างระบบคุ้มครองผู้บริโภคให้มีความเชื่อมั่น ต่อความปลอดภัยที่ใช้สถานประกอบการ สถานบริการสุขภาพและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในระดับเขตสุขภาพและอำเภอ 1. การบังคับใช้กฎหมาย 1.1 จัดการเรื่องร้องเรียน 1.2 ปราบปรามจับกุม 2. พื้นที่ดำเนินการ (Setting) 2.1 อาหาร - ชุมชน : สถานประกอบการ/แหล่งรวบรวม โรงงานน้ำ ภัตตาคาร 2.2 ยา - ชุมชน - สถานพยาบาล 2.3 ข้อมูลข่าวสาร (โฆษณา) - ช่องทางสำคัญ 3. ระบบการจัดการ 3.1 จัดตั้งอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ระดับเขต 3.2 กลไกระดับเขต-จังหวัด 3.3 การพัฒนารูปแบบ 3.4 การพัฒนาศักยภาพ 3.5 ฐานข้อมูล ผลิตภัณฑ์สุขภาพและสถานบริการสุขภาพปลอดภัย รวมถึงข้อมูลข่าวสาร ด้านสุขภาพที่ผู้บริโภคได้รับอย่างถูกต้องเป็นธรรม นิเทศและติดตามประเมินผล สำรวจข้อมูล (Rapid Survey) ประชาชน/ ชุมชน สามารถปกป้อง คุ้มครอง ตนเองได้ จากการได้รับ บริการและ ผลิตภัณฑ์ สุขภาพ ที่ไม่มีคุณภาพ 3

ตัวชี้วัดการดำเนินงานบูรณาการด้านคุ้มครองผู้บริโภคฯ KPI ระดับจังหวัด KPI ระดับกระทรวง KPI ระดับเขตสุขภาพ ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพของจังหวัด ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ 1. ระบบการจัดการงานคุ้มครองผู้บริโภคระดับจังหวัด(บังคับ) ( ถ่วงน้ำหนัก 50%) 2. ความสำเร็จของโครงการที่จังหวัดเลือกดำเนินการ (เลือกอย่างน้อย 3 เรื่อง) มีค่าถ่วงน้ำหนักรวมกันให้ได้ 50% ดังนี้ 2.1 ร้อยละของคลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงามและคลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลได้รับการเฝ้าระวังและให้ดำเนินการตามกฎหมาย (อย่างน้อย 15%) 2.2 ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารมีคุณภาพมาตรฐาน ตามเกณฑ์ที่กำหนด (ผัก ผลไม้ น้ำบริโภค น้ำแข็ง ผลิตภัณฑ์ชุมชน และเกลือเสริม ไอโอดีน) (อย่างน้อย 5%) 2.3 ระดับความสำเร็จในการขับเคลื่อนกิจกรรมส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชนนำร่อง (อย่างน้อย5%) 2.4 ร้อยละของโฆษณาด้านสุขภาพที่ผิดกฎหมายได้รับการจัดการ (อย่างน้อย 15%) 2.5 ร้อยละของข้อร้องเรียนของผู้บริโภคได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาตามที่กำหนด (อย่างน้อย 5%) 2.6 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการอื่นที่เขตกำหนดเอง (อย่างน้อย 5%) Σ (ระดับความสำเร็จของเขต) จำนวนเขต Σ (ระดับความสำเร็จของจังหวัด) จำนวนจังหวัด การคิดค่าคะแนน 4

เกณฑ์การให้คะแนน รวม = 4.25 ตัวชี้วัดย่อย น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนที่ได้ คะแนนถ่วงน้ำหนัก 1 2 3 4 5 1. ระดับความสำเร็จการจัดการงานคุ้มครองผู้บริโภค 0.50 2.5 2. ร้อยละของคลินิกเวชกรรมด้านความงามที่ไม่ได้รับอนุญาตประกอบกิจการตามกฎหมาย > 0.15 82 86 90 94 98 0.6 3. ร้อยละอาหารมีคุณภาพมาตรฐาน > 0.05 70 72.5 75.0 77.5 80.0 0.2 4. ระดับความสำเร็จการขับเคลื่อนกิจกรรมการใช้ยาอย่างเหมาะสม 5. ร้อยละชิ้นโฆษณาที่พบว่าผิดกฎหมายได้รับการจัดการ 90.0 92.5 95.0 97.5 100 0.75 6. ร้อยละของเรื่องร้องเรียนที่ได้รับที่มีการจัดการ 0.25 7. ระดับความสำเร็จของการดำเนินวานตามที่เขตหรือจังหวัดกำหนดเอง รวม = 4.25

(ร่าง) แผนงาน/โครงการ งบประมาณการบูรณาการด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ (ล้านบาท) หน่วยงาน รวมทั้งสิ้น ส่วนกลาง เขตสุขภาพ/จังหวัด/อำเภอ กรม ศูนย์/เขต 1. พัฒนาระบบบริหารจัดการงานคุ้มครองผู้บริโภคในส่วนภูมิภาค งบบูรณาการภูมิภาคของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สนง.อย. กรมอนามัย กรมวิทย์ฯ กรม สบส. สป.กสธ. (สสอป./ สบรส./สสจ.) 2. พัฒนาและบังคับใช้กฎหมาย ข้อบังคับและมาตรฐาน 41.8633 33.8633 3.0000 5.0000 3. ควบคุม กำกับ ตรวจสอบ เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ สถานประกอบการ สถานบริการสุขภาพ และการโฆษณา 104.4200 47.7689 11.7754 44.8840 4. พัฒนาสถานประกอบการ 19.0884 11.4844 7.6000 5. จัดทำคู่มือการดำเนินงาน/ สื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์งานคุ้มครองผู้บริโภค 21.8166 6. พัฒนาศักยภาพ (เจ้าหน้าที่ ผู้ประกอบการ และผู้บริโภค) 49.0927 35.4008 1.5800 12.1119 236.2853* 150.3340 16.3554 69.5959 * งบรวมเฉพาะของแต่ละกรม ไม่รวมงบภูมิภาคของสป.กสธ. 6

ขอขอบคุณ 7