การบริหารทรัพยากรมนุษย์ของ อปท. ในมุมมองของ กลุ่มข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ
ฝ่ายสภา บทบาทในฐานะนักพัฒนาท้องถิ่น ฝ่ายบริหาร บทบาทผู้นำ บทบาทหน้าที่ ฝ่ายสภา บทบาทในฐานะนักพัฒนาท้องถิ่น ฝ่ายบริหาร บทบาทผู้นำ ฝ่ายข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ บทบาทนักประสานงานในพื้นที่
การบริหารราชการ ปัจจุบันการบริหารราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเริ่มเข้าสู่ระบบ ภาวะวิกฤติทางการบริหาร (ปัญหาของการพัฒนาที่ยั่งยืนและเข้มแข็ง)
สาเหตุปัญหา ผลประโยชน์ส่วนตัว และผลประโยชน์ทับซ้อน เพื่อที่จะให้ได้มาซึ่งอำนาจ ทรัพย์สิน โดยขาดคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของการเป็นนักบริหารที่ดี อันจะนำไปสู่สังคมที่เสื่อมและขาดศรัทธาจากประชาชน และภาคราชการอื่น ๆ
สาเหตุปัญหา คนที่เข้ามามีอำนาจในการบริหารขาดความรู้ความสามารถ และไม่มีหลักในการบริหารจัดการทรัพยากรของท้องถิ่น รวมทั้งขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่อง การบริหารการจัดการทรัพยากรบุคคล
การใช้อำนาจ 1. อำนาจทางการปกครองบังคับบัญชา ( hierarchy ) 2. อำนาจทางการบริหารจัดการ ( Administrative of Management) 3. อำนาจความรับผิดชอบ ( Responsibility ) 4. อำนาจเฉพาะตัว หรือ อำนาจบารมี หรืออำนาจ อิทธิพล หรืออำนาจมืด ( Characteristic )
ส่งท้าย เพียงหวังจะเฟื่องฟุ้งหรือ จึงมุ่งมาศึกษา เพียงเพื่อปริญญาเอาตัวรอด เท่านั้นฤา แท้ควรสหายคิดและตั้งจิต ร่วมยึดถือ รับใช้ประชาคือ ปลายทางจุดหมายเรา
ขอบคุณที่รับฟัง