งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หลักธรรมาภิบาล ความหมายของธรรมาภิบาล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หลักธรรมาภิบาล ความหมายของธรรมาภิบาล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการสร้างระบบบริการกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๒
หลักธรรมาภิบาล ความหมายของธรรมาภิบาล ธรรมาภิบาล หมายถึง การบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี เป็นแนวทางสำคัญในการจัดระเบียบให้สังคมรัฐ ภาคธุรกิจเอกชน และภาคประชาชน ครอบคลุมถึงฝ่ายวิชาการ ฝ่ายปฏิบัติการ ฝ่ายราชการ และฝ่ายธุรกิจ สามารถอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข

2 ธรรมาภิบาล หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม
หลักความรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า ธรรมาภิบาล

3 ความอิสระของผู้พิพากษา
1. หลักนิติธรรม การตรากฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ให้ทันสมัย และเป็นธรรมเป็นที่ยอมรับของสังคม และสังคมยินยอมพร้อมใจ ปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ข้อบังคับเหล่านั้น เป็นการปกครองตามกฎหมายมิใช่ตามอำเภอใจ ปรับปรุงกระบวนการร่าง ออกกฎหมาย และการบังคับใช้กฎหมายให้มีความรัดกุม รวดเร็วและเป็นธรรม การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ การแบ่งแยกอำนาจ ความชอบธรรมด้วยกฎหมายทางเนื้อหา ความอิสระของผู้พิพากษา หลักนิติธรรม ความเป็นกฎหมายสูงสุดของ รธน. หลักความผูกพันต่อกฎหมาย หลักไม่มีความผิด ไม่มีโทษ โดยไม่มีกฎหมาย

4 - รณรงค์ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นตัวอย่างแก่สังคม
2.หลักคุณธรรม - การยึดมั่นในความถูกต้องดีงามของศีลธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรม ที่สังคมยอมรับว่าพึงปฏิบัติ - รณรงค์ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นตัวอย่างแก่สังคม ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนมีความซื่อสัตย์ จริงใจ ขยันอดทน มีระเบียบวินัย ประกอบอาชีพสุจริต จนเป็นนิสัยประจำชาติ ปลอดจากการทำผิดวินัย ปลอดจากการทำผิดกฎหมาย หลักคุณธรรม ปลอดจากการทำผิดมาตรฐาน วิชาชีพนิยม จรรยาวิชาชีพ

5 ด้านการเปิดเผยมีส่วนร่วม
3.หลักความโปร่งใส - การสร้างความไว้วางใจซึ่งกันและกันของคนในชาติ โดย ปรับปรุงกลไกการทำงานของทุกองค์กรให้มีความโปร่งใส ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้โดยสะดวกและเข้าใจง่าย - มีกระบวนการให้ประชาชนตรวจสอบความถูกต้องชัดเจนได้ ด้านโครงสร้าง ด้านการให้โทษ ความโปร่งใส ด้านการให้คุณ ด้านการเปิดเผยมีส่วนร่วม

6 การรับฟังความคิดเห็น
4.หลักการมีส่วนร่วม เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ และเสนอความเห็นในการ ตัดสินใจปัญหาสำคัญของประเทศ ไม่ว่าด้วยการแจ้งความเห็น การไต่ สวนสาธารณะ การประชาพิจารณ์ การแสดงประชามติ การให้ข้อมูล การรับฟังความคิดเห็น หลักการมีส่วนร่วม การพัฒนาศักยภาพ ในการมีส่วนร่วม การร่วมตัดสินใจ

7 5.หลักความรับผิดชอบ ตระหนักในสิทธิหน้าที่ / สำนึกในความรับผิดชอบต่อสังคม ใส่ใจปัญหาสาธารณะของบ้านเมือง กระตือรือร้นในการแก้ปัญหา เคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง กล้ายอมรับผลดีและผลเสียจากการกระทำของตน การบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ การมีระบบติดตามประเมินผล การมีเป้าหมายที่ชัดเจน การจัดการกับผู้ไม่มีผลงาน สำนึกรับผิดชอบ การมีการสร้างความเป็นเจ้าของร่วมกัน การมีแผนสำรอง

8 การใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด
6. หลักความคุ้มค่า หมายถึง การบริหารจัดการและใช้ทรัพยากรที่มีจำกัดเพื่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุดแก่ส่วนรวม รณรงค์ให้คนไทย - มีความประหยัด - ใช้ของอย่างคุ้มค่า - สร้างสรรค์สินค้าและบริการที่มีคุณภาพ - รักษาและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติให้สมบูรณ์ยั่งยืน การประหยัด การแข่งขัน หลักความคุ้มค่า การใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด

9 การประยุกต์ใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหาร
1.  ความรับผิดชอบตรวจสอบได้      ความรับผิดชอบ  คือ  บุคคล  องค์การ  และผู้ทำหน้าที่ในการตัดสินใจ  ที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารงานต้องมีภาระความรับผิดชอบต่อสาธารณะเกี่ยวกับการกระทำ  กิจกรรม  หรือการตัดสินใจใดๆ  ซึ่งส่งผลกระทบต่อสาธารณะ  ซึ่งได้แก่  การเปิดเผยข้อมูล  การมีความยุติธรรม  ปฏิบัติต่อทุกคนด้วยความเสมอภาค  และตรวจสอบได้  โปร่งใส  และดำเนินการภายใต้กรอบของกฎหมาย

10 2. ความโปร่งใส ความโปร่งใส หมายถึง การตัดสินใจและการดำเนินการต่าง ๆ อยู่บนกฎระเบียบชัดเจน การดาเนินงานของรัฐบาลในด้านนโยบายต่าง ๆ นั้น สาธารณะชนสามารถรับทราบ และมีความมั่นใจได้ว่า การดาเนินงานของรัฐนั้นมาจากความตั้งใจในการดาเนินงานเพื่อให้บรรลุผลตามเป้าหมายของนโยบาย

11 3. การปราบปรามทุจริตและการประพฤติมิชอบ
3.  การปราบปรามทุจริตและการประพฤติมิชอบ การปรับปรุงประสิทธิภาพในการทำงานและการทำให้ เกิดความโปร่งใส  รวมไปถึงการปฏิรูประบบราชการจะ เป็นเครื่องมือในการปราบปรามการฉ้อฉลและเสริมสร้าง ธรรมาภิบาล....

12 4. การสร้างความร่วมมือ เปิดโอกาสให้ประชาชนหรือผู้ที่เกี่ยวข้องเข้ามามี ส่วนร่วมในการตัดสินใจดำเนินนโยบายมีส่วนร่วม ในการควบคุมการปฏิบัติงานของสถาบัน  การมีส่วน ร่วมในกระบวนการตรวจสอบ เป็นต้น.....

13 5. การมีกฎหมายที่เข้มแข็ง
5. การมีกฎหมายที่เข้มแข็ง ธรรมาภิบาลมีพื้นฐานการดำเนินการอยู่บนกรอบของ กฎหมายโดยไม่เลือกปฏิบัติ  มีการให้ความเสมอภาคเท่า เทียมกัน  และเป็นธรรมกับทุกฝ่าย  มีกฎหมายที่ เข้มแข็ง  มีการระบุการลงโทษที่ชัดเจนและมีผลบังคับ ใช้ได้จะเป็นสิ่งที่ช่วยพัฒนาระบบการปกครองเพื่อป้องกัน การลงโทษที่ชัดเจนและมีผลบังคับใช้ได้  จะเป็นสิ่งที่ช่วย พัฒนาระบบการปกครองเพื่อป้องกันการ้ละเมิด  หรือ ฝืน  การมีระบบกฎหมายที่ดีจะส่งเสริมการปกครองตาม หลักนิติธรรม.....

14 6.  การตอบสนองที่ทันการ ธรรมาภิบาล  เป็นการให้การตอบสนองที่ทันต่อผู้ มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายในเวลาที่ทันการ.....

15  7.  ความเห็นชอบร่วมกัน สังคมที่ประกอบด้วยบุคคลที่มีความคิดเห็นแตกต่าง กันไป  ธรรมาภิบาลจะทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการ ประสานความต้องการที่แตกต่างให้บนพื้นฐานของ ประโยชน์ส่วนรวมและขององค์การเป็นหลัก.....

16 8. ประสิทธิภาพและประสิทธิผล
8.  ประสิทธิภาพและประสิทธิผล   ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในหลักธรรมาภิ บาล  ต้องมีการใช้ทรัพยากรต่างๆ  ให้เกิดประโยชน์ สูงสุด  และเกิดความคุ้มค่ามากที่สุด.....

17 9. ความเสมอภาคและความเกี่ยวข้อง.....
9.  ความเสมอภาคและความเกี่ยวข้อง..... หลักธรรมาภิบาลจะเน้นให้บุคลากรทุกคนใน องค์การรู้สึกมีส่วนร่วมหรือรู้สึกเป็นส่วนหนึ่ง กับองค์การ  บุคคลสามารถมีส่วนเกี่ยวข้องใน กิจกรรมหลักที่จะช่วยสร้างความเติบโตให้กับ หน่วยงาน

18 ตัวอย่าง “ความโปร่งใส”

19 สรุป การใช้หลักธรรมาภิบาลทาให้องค์การสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการ บริหารงานได้ อีกทั้งยังเป็นกลไกในการควบคุมติดตามและตรวจสอบ โดยมี ประชาชนหรือองค์การภายนอกมีส่วนร่วม ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความ เสียหายแก่การบริหารองค์การ เพราะการสร้างธรรมาภิบาลให้เกิดขึ้นใน องค์การ เป็นการสร้างสานึกที่ดีในการบริหารงาน และการทางานในองค์การ และจัดระบบที่สนับสนุนให้มีการปฏิบัติตามสานึกที่ดี ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของ การบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่สิ้นเปลือง การติดตามการทุจริต ความ โปร่งใส โดยคานึงถึงผู้ที่เกี่ยวข้องที่จะได้รับผลกระทบ เนื่องจากผู้ที่ได้รับ ผลกระทบจากการปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐนั้น จะเกี่ยวข้องกับประชาชน โดยตรง

20 ขอขอบคุณ ...


ดาวน์โหลด ppt หลักธรรมาภิบาล ความหมายของธรรมาภิบาล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google