น.ส.วันวิสาข์ วรรณภิระ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
Advertisements

การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Brain- Based Learning ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3/1 สาขาการขาย.
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรูปแบบการจำลอง การอ่านค่าเวอร์เนียคาลิปเปอร์ วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น ระดับชั้น ปวช.1.
ผู้วิจัย นางสาวมัตติกา ขวัญใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา
เอื้อมพร ธาตุทำเล.
----- ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษาการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดของนักเรียนในรายวิชาคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2.
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)

ชื่อเรื่องวิจัย: พัฒนาการของการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ
การใช้โครงงานภาษาอังกฤษ เรื่อง
การพัฒนาทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐาน โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา.
นายศุภพล มงคลเจริญพันธ์
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้แบบฝึกวิชาภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารในงานอาชีพเรื่อง Present Simple.
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้หนังสืออ่านนอกเวลา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่1 แผนกเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 โดยใช้สถานการณ์จำลอง กิติพร โกมลารชุน.
การปรับพฤติกรรมการเรียนในชั้นเรียนและการส่งงาน ของนักเรียนห้องการท่องเที่ยว 3/1 รายวิชาการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ นางสาวสุคนทิพย์ ทองจันทร์แก้ว สถานศึกษาที่สังกัด.
ชื่อผู้วิจัย นางศศิธร บุญภูมิ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นายวิระ หนูราช วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ WIMOL BUSINESS ADMINISTRATION TECHNOLOGICAL COLLEGE ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักการ เขียนโปรแกรม บนระบบปฏิบัติการ.
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อผู้วิจัย นางศศิธร บุญภูมิ
การใช้แบบฝึกทักษะเกม Spelling Bee เพื่อพัฒนาความสามารถในการสะกด คำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 (ปวช.1) สาขา เทคนิคคอมพิวเตอร์

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
สมเกียรติ์ คุณหอม วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้ยานพาหนะเพื่อการจัดส่ง สินค้า เรื่องการดูแลรักษาเครื่องยนต์ เบื้องต้น ของนักเรียนชั้น ปวช. ปีที่ 3 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้รถยนต์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
นำเสนอผลงานวิชาการ เรื่อง การพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ สำหรับนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา จังหวัดเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
การนำเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรมสื่อการสอนทางอาชีวศึกษา ครั้งที่ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

น.ส.วันวิสาข์ วรรณภิระ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ การใช้กิจกรรมสถานการณ์จำลองเพื่อเพิ่มพูนทักษะการฟัง พูดภาษาอังกฤษและแรงจูงใจ ของนักศึกษาในระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ น.ส.วันวิสาข์ วรรณภิระ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ

ปัญหาการวิจัย ผู้วิจัยได้ศึกษาปัญหาการเรียนการสอน โดยพิจารณาจากประสบการณ์ สอนของผู้วิจัยและการได้สอบถามครูผู้สอนวิชาภาษาอังกฤษหรือได้รับฟังการ บรรยายจากผู้มีความเชี่ยวชาญด้านภาษาอังกฤษหลายๆ ท่านซึ่งผลที่ได้สอดคล้อง กับผลการศึกษาของผู้วิจัย ได้แก่ ปัญหาทักษะการพูด ทักษะการฟัง และการไม่สนใจเรียนภาษาอังกฤษ เนื่องด้วยไม่มีแรงจูงใจในการเรียน ด้วยเหตุผลดังกล่าวนี้ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะสร้างการใช้กิจกรรม สถานการณ์จำลองเพื่อเพิ่มพูนทักษะการฟัง พูดภาษาอังกฤษ และแรงจูงใจของ นักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถทางการฟัง พูดภาษาอังกฤษของ นักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพก่อนและหลังจากการใช้กิจกรรม สถานการณ์จำลอง ๒. เพื่อเปรียบเทียบแรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษก่อนและหลังจาก การใช้กิจกรรมสถานการณ์จำลอง

ตารางสรุปสำคัญ ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนความสามารถในการฟัง พูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาโดยใช้กิจกรรมสถานการณ์จำลอง จาตาราง 1 แสดงให้เห็นว่าคะแนนความสามารถในการฟัง พูดภาษาอังกฤษของนักศึกษา โดยใช้กิจกรรมสถานการณ์จำลอง หลังเรียนเพิ่มขึ้น แบบทดสอบ ก่อนฝึก หลังฝึก S.D. ด้านการฟัง 3.45 0.604 3.8 0.951 ด้านการพูด 3.55 0.686 4.1 0.307

จากตาราง ๒ แสดงให้เห็นว่าคะแนนแรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษของ ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนแรงจูงใจในการ เรียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาโดยใช้กิจกรรมสถานการณ์จำลอง แบบทดสอบ ก่อนฝึก หลังฝึก S.D. แรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษ 4.2 0.410 4.6 0.502 จากตาราง ๒ แสดงให้เห็นว่าคะแนนแรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษของ นักศึกษา โดยใช้กิจกรรมสถานการณ์จำลองหลังเรียนเพิ่มขึ้น

สรุปผลการวิจัย จากการวิเคราะห์ข้อมูลปรากฏผลดังนี้ 1. ความสามารถในการฟัง พูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาหลังการเรียน โดยใช้กิจกรรมสถานการณ์จำลองสูงกว่าก่อนการเรียน ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ ได้ตั้งไว้ 2. แรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาหลังการเรียนโดยใช้ กิจกรรมสถานการณ์จำลองสูงกว่าก่อนการเรียน ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ได้ตั้งไว้

ข้อเสนอแนะจากการวิจัย ในการจัดเนื้อหาสาระ ควรคำนึงถึงความยากง่าย ความต่อเนื่องและลำดับชั้นของเนื้อหารวมทั้งเลือกเนื้อหาที่มีลักษณะใกล้เคียงกับความเป็นจริงให้เหมาะสมกับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำเอาความรู้เดิมไปใช้ในบทเรียนใหม่ได้

ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรมีวิจัยโดยใช้กิจกรรมสถานการณ์จำลองให้ผู้เรียนในระดับชั้นอื่นๆ 2. ควรวิจัยโดยใช้กิจกรรมสถานการณ์จำลองเพื่อวัดทักษะการอ่านและ การเขียน 3. ควรมีวิจัยวัดระดับความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียน 4. ควรมีการวิจัยวัดระดับทักษะสังคม