เอื้อมพร ธาตุทำเล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
Advertisements

พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ผู้วิจัย นางนันทา สุพจน์เฉลิมขวัญ
วิจัยเรื่อง “ผลการจัดการเรียนรู้รายวิชา คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เรื่อง ความน่าจะเป็นโดยใช้เทคนิคร่วมกันคิด” โดย นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การพัฒนาการเรียนการสอน ในรายวิชา หลักการออกแบบกราฟิก แผนกคอมพิวเตอร์กราฟิก โดยใช้เกมโลโก้ อิเล็กทรอนิกส์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 นายธนาลักษณ์
การใช้เกมการศึกษาในการพัฒนาทักษะการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 2 สาขายานยนต์ (ชย.2101) วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
การเปรียบเทียบความคงทนในบทเรียนระหว่าง วิธีการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองกับวิธีการแบบบรรยาย นุชดา ลาทอง.
โดย นางกรุณา อุประดิษฐ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่ ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การสร้างสรรค์งาน โฆษณาในรายวิชาการโฆษณา.
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
น.ส.วันวิสาข์ วรรณภิระ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ
ชื่อเรื่อง ศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาเศรษฐศาสตร์โดยใช้แบบฝึกทักษะการท่องจำเบื้องต้นของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
จำเริญ ติ่งต้อย วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนรูปแบบซิปปา (CIPPA MODEL) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาภาษาอังกฤษสำหรับสถานประกอบการสำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ชื่อผู้วิจัย นายสรรเพชญ สุขสวัสดิ์ สถาบัน วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ผู้เสนอ นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ follow me เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบทางการเรียนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 ของนักศึกษาระดับ ปวช.1 สาขาพณิชยการ โดย อ.ชรินทร.

การศึกษาความพึงพอใจ ของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีโป ลิเทคนิคลานา เชียงใหม่ ต่ออาจารย์ผู้สอนตามความคิดเห็น ของนักศึกษา.
ชื่อผู้วิจัย ณัฐฌา แรกขึ้น สถานศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนา พณิชยการเชียงใหม่
ผู้วิจัย การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ VDO ช่วยสอน
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
นางสาวสาวิตรี โยธาจันทร์ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐาน โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ WIMOL BUSINESS ADMINISTRATION TECHNOLOGICAL COLLEGE ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักการ เขียนโปรแกรม บนระบบปฏิบัติการ.
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบของ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางาน คอมพิวเตอร์กราฟิค วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาสื่อการสอนเรื่องวงกลม โดยใช้ โปรแกรม The Geometer’ s Sketchpad (GSP) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 ผู้วิจัย นางสาวอังสนา อุตมูล.
วัตถุประสงค์การวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง (แลมป์ – เทค)
วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา จังหวัดเชียงใหม่
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
การนำเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรมสื่อการสอนทางอาชีวศึกษา ครั้งที่ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิธีการแก้ปัญหาการอธิบายกลไกลการทำงานเกียร์ขับเคลื่อนล้อหลัง 5 สปีด
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เอื้อมพร ธาตุทำเล

ปัญหาของการวิจัย ผู้วิจัยซึ่งเป็นผู้สอนในวิชาอาหารและเครื่องดื่มเพื่อการท่องเที่ยว จึมีความสนใจที่จะศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนแบบแข่งขันเป็นทีม (TGT) ในวิชาวิชาอาหารและเครื่องดื่มเพื่อการท่องเที่ยว เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพในการเรียนวิชาดังกล่าวและยังส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักการทำงานเป็นหมู่คณะเพื่อเตรียมความพร้อมที่จะออกไปทำงานร่วมกับสังคม

1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ของการจัดการเรียนการสอนแบบการแข่งขันเป็นทีม T G T ในวิชาอาหารและเครื่องดื่มเพื่อการท่องเที่ยว ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ 2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนแบบการแข่งขันเป็นทีม T G T ในวิชาอาหารและเครื่องดื่มเพื่อการท่องเที่ยว

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การจัดการเรียนการสอน แบบแข่งขันเป็นทีม TGT ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การจัดการเรียนการสอน แบบแข่งขันเป็นทีม TGT ความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนแบบการแข่งขันเป็นทีม TGT

ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักศึกษาระดับระกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้น ปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 30 คน

การแข่งขันจะเกิดขึ้น หลังจากที่ผู้สอนได้สอนเนื้อหาของแต่ละหน่วย แล้วทำการทดสอบความรู้ด้านทฤษฎีจบลงไปแล้ว โดยกำหนดกิจกรรมให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติการแข่งขัน ดังนี้ 1. ทักษะในการเตรียมการบริการอาหารและเครื่องดื่ม 2. การพับผ้าเช็ดปาก 3. การจัดโต๊ะอาหารค่ำ 4. การผสมเครื่องดื่ม

ภาพการจัดกิจกรรม

สรุปผลการวิจัย ตอนที่ 1 ความคิดเห็นของนักศึกษาต่อแรงจูงใจของนักศึกษา ในการเรียน วิชาอาหารและเครื่องดื่มเพื่อการท่องเที่ยว แบบการแข่งขันเป็นทีม TGT คะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับ มาก (3.82) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.87 กิจกรรมการเรียนแบบ TGT ทำให้ข้าพเจ้า มีความกระตือรือร้นที่จะนำความรู้ในเนื้อหามาปรึกษาเพื่อในกลุ่ม คะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับ มาก (3.90) ข้าพเจ้าชอบเล่นเกมการแข่งขันในกิจกรรมการเรียนแบบ TGT คะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับ ปานกลาง (3.30)

ตอนที่ 2 ความคิดเห็นของนักศึกษาต่อบทบาทของครูในกระบวนการสอนโดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอน แบบการแข่งขันเป็นทีม TGT คะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับ มาก (3.71) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.89 การนำเข้าสู่บทเรียนของครูสอดคล้องกับเนื้อหาที่สอนคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับ มาก (3.92) ขณะนักศึกษาทำงานครูคอยช่วยเหลืออยู่ห่างๆ คะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับ มาก(3.85) ครูให้นักศึกษากรอกผลการแข่งขันกันเองคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับ มาก (3.55) ครูเน้นย้ำถึงความสำเร็จของกลุ่มว่ามาจากความร่วมมือกันภายในกลุ่มคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับ มาก (3.52)

ตอนที่ 3 ความคิดเห็นของนักศึกษาต่อการสอนโดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบการแข่งขันเป็นทีม TGT ที่มีผลต่อตัวนักศึกษา คะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับ มาก (3.77) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน =0.82 การเรียนที่มีการทำกิจกรรมมากๆ ทำให้เกิดความสนุกสนาน คะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับ มาก(3.92) การเรียนแบบ TGT มีหลายขั้นตอนทำให้เกิดความตื่นเต้นในการเรียนของข้าพเจ้า คะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับ มาก (3.90) ข้าพเจ้าพยายามเต็มที่ในการเล่นเกมการแข่งขันเพื่อคะแนนของกลุ่มคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับ มาก (3.62) ข้าพเจ้าสามารถถ่ายทอดเนื้อหาให้เพื่อนได้เข้าใจมากขึ้นคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับ มาก (3.57)

Thank You!