แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ระบบการปฏิบัติงานของสำนักงานเกษตรอำเภอ Smart Office
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สวัสดีครับ.
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การใช้ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการวางแผน พัฒนาพื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดิน
การพัฒนาองค์ความรู้ และการบูรณาการพัฒนา ขั้นพื้นฐาน.
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงต่อโรคไข้เลือดออก จังหวัดอุบลราชธานี
พรบ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
ความเข้มแข็งให้ : ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
ระบบส่งเสริมการเกษตร
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
การใช้ MRCF เพื่อพัฒนาศูนย์ข้าวชุมชน ตำบลบางกะไห นางสาวยุวดี ฮวดวิเศษ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ.
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
การเขียนรายงานผล การดำเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ (MRCF)
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
การจัดการความรู้ (KM) ปี 2558 สำนักงานเกษตรอำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร

แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร 1. การบริหารจัดการงานส่งเสริมการเกษตรในพื้นที่ ต้องมีขอบเขตพื้นที่ดำเนินการชัดเจน มีการบูรณาการพื้นที่ คน สินค้า เข้าด้วยกัน มีเป้าหมายในการพัฒนา ใช้หลัก win-win situation ในการทำงานร่วมกันกับทุกหน่วยงาน สร้างต้นแบบ smart extension officers ในทุกอำเภอ และงานส่งเสริมการเกษตรโดยใช้รูปแบบ MRCF

แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร 2. การบริหารจัดการข้อมูล ต้องทำงานบนพื้นฐานของข้อมูลที่ถูกต้อง สมบูรณ์ เป็นปัจจุบัน ตรวจสอบได้ และเป็นที่เชื่อถือยอมรับ สามารถจัดทำและใช้ข้อมูลโดยเฉพาะข้อมูลแผนที่ และการเข้าถึงข้อมูลของนักส่งเสริมการเกษตรสามารถทำได้โดยสะดวก

แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร 3. การบริหารจัดการองค์กร เขตจะเป็นหน่วยงานขับเคลื่อนการปฏิบัติงานในพื้นที่แทนกรม พัฒนาบุคลากรให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน เป็นผู้จัดการการเกษตรในพื้นที่ และเป็น Smart Extension Officers ปรับวิธีการทำงานให้เอื้ออำนวยต่อการปฏิบัติงานในพื้นที่และการทำงานกับเครือข่ายและองค์กรเกษตรกรต่างๆ มีการสื่อสารกันมากขึ้นโดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยใช้การสื่อสารระยะไกล และการสื่อสาร 2 ทาง

ระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ (MRCF System)

นักส่งเสริมการเกษตร ผู้จัดการการเกษตรในพื้นที่ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change Agent ) Smart Extension Officers มีอัตลักษณ์ของนักส่งเสริมการเกษตร ใช้กระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ในลักษณะ Win-Win Situation

Model การใช้ MRCF 1. เกษตรกรได้รับบริการตามความต้องการ การผลิตสินค้าเกษตรได้รับการพัฒนา เพิ่มประสิทธิภาพ (ต้นทุน/ผลผลิต/คุณภาพ) ปรับเปลี่ยนการผลิต/ส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรกร/องค์กรเกษตรกรได้รับการพัฒนา มีความเข้มแข็ง พึ่งพาตนเองได้ 1. เกษตรกรได้รับบริการตามความต้องการ 2. พื้นที่ได้รับการพัฒนาตามศักยภาพ Community Participation กระบวนการเรียนรู้ การมีส่วนร่วม Remote Sensing Specific Field Service Mapping นักส่งเสริมการเกษตร

M : Mapping (การจัดทำและใช้ข้อมูลแผนที่) การทำงานบนพื้นฐานของข้อมูล จัดการข้อมูลให้เป็นรูปธรรม จับต้องได้ (จากข้อมูลเชิงตารางเป็นข้อมูลเชิงตำแหน่งในแผนที่) มีข้อมูล กายภาพ ชีวภาพ เศรษฐกิจ สังคม มีแผนที่ เชื่อมโยงข้อมูลกับแผนที่ วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล ใช้ประโยชน์จากข้อมูล ในการกำหนดเป้าหมายการทำงาน วางแผนพัฒนา / แก้ปัญหา

การนำแผนที่และข้อมูลต่างๆมาซ้อนทับกัน เช่น Overlay การนำแผนที่และข้อมูลต่างๆมาซ้อนทับกัน เช่น แผนที่ภูมิประเทศ แผนที่ดิน แผนที่แม่น้ำ แผนที่ชลประทาน แผนที่ขอบเขตการปกครอง ข้อมูลต่างๆ 3.ข้อมูล overlay วิเคราะห์ว่าอย่างไร ถ้าเราไม่ทำอะไรก็จะพบการระบาดอีก (คำตอบที่ได้ ต.ดอนเจดีย์เป็นตำบลปลอดเพลี้ย) Out put

R : Remote Sensing (ข้อมูลและการสื่อสารระยะไกล) ประสานและให้บริการเกษตรกรด้วยวิธีการติดต่อสื่อสารและเข้าถึงข้อมูลจากระยะไกล นักส่งเสริมการเกษตรและเกษตรกรสามารถเข้าถึงข้อมูลหรือติดต่อสื่อสารได้จากระยะไกล สำรวจข้อมูลและติดตามสถานการณ์

เจ้าหน้าที่ โรคพุ่มไม้กวาด สาเหตุเกิดจากเชื้อมายโคพลาสมา แพร่ระบาดโดยการตอนกิ่งลำไยจากต้นที่เป็นโรค โรคนี้มีแมลงพวกเพลี้ยจั๊กจั่นสีน้ำตาลเป็นพาหะ การป้องกันและกำจัด 1. คัดเลือกกิ่งพันธุ์จากต้นที่ไม่เป็นโรคไปปลูก 2. ป้องกันแมลงจำพวกปากดูด พวกเพลี้ยจั๊กจั่นสีน้ำตาล โดยใช้สารเคมีเช่น ฟอสซ์ อัตรา 50 ซีซี. ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ มิพซิน อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรือลอร์สแมน อัตรา 80 ซีซี. ต่อน้ำ 20 ลิตร 3. สำหรับต้นที่เป็นโรคถ้าเป็นไม่มาก ควรตัดกิ่งที่เป็นโรคนำมาเผาทำลายซึ่งชาวสวนจะต้องพร้อมใจกันและกำจัดทุกๆ สวน เพื่อป้องกันไม่ให้เชื้อโรคแพร่ระบาด เกษตรกร 11

C : Community Participation (ทำงานแบบมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่าย) การทำงานร่วมกับเกษตรกร ชุมชน และภาคีเครือข่าย เน้นการมีส่วนร่วมทุกขั้นตอน (ร่วมรับรู้ ร่วมคิดตัดสินใจ ร่วมลงมือปฏิบัติ ร่วมประเมินผล และร่วมรับประโยชน์) การได้รับประโยชน์ร่วมกันของทุกฝ่าย (win-win situation) ใช้เวทีส่งเสริมการเกษตร เวทีชุมชนหรือวิธีอื่น ๆ ตามความ เหมาะสม

F : Specific Field Service (ให้บริการทางการเกษตรแบบเฉพาะเจาะจง มีเป้าหมายชัดเจน) นักส่งเสริมการเกษตรต้องเข้าพื้นที่อย่างมีเป้าหมาย ใช้ข้อมูลในการทำงานในพื้นที่เพื่อให้บริการแบบเฉพาะเจาะจง (Farmer Approach) รู้จักวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเชื่อมโยงข้อมูลต่าง ๆ เข้าด้วยกันเพื่อประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน