นางสาวเกสรา ฉายารัตน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวัดเจตคติที่มีต่อวิชาภาษาอังกฤษ
Advertisements

ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
นางฐานิตา ทองศิริ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
นางสาว ธันยพัต ภักดี วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการจรัลสนิทวงศ์
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.

นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้

ความเป็นมา ในปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากในชีวิตประจำวันแทบทุกด้าน รวมถึงด้านของการศึกษาด้วย ผู้เรียนส่วนใหญ่สามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้ ผู้วิจัยจึงเห็นแนวทางที่จะพัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีความสอดคล้องกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
นางสาวอัญชลี คำแปง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปีที่ 1 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่มกัลยาณมิตร.

พฤติกรรมผู้เรียน การเป็นพลเมืองไทยพลโลก วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ นางสอางค์ แจ่มถาวร วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
เรื่อง การแก้ปัญหาการเรียนรู้ การวัดการกระจายสัมบูรณ์ โดยใช้วิธีทำแบบฝึกหัดทบทวน และทดสอบหลังบทเรียนของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู

จัดทำโดย จรัสศรี ดอนชัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
ชื่องานวิจัยในชั้นเรียน การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาในรายวิชาการบัญชีชั้นกลาง 2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวไอลดา วัฒนสิทธิ์
นางชุติพัทธ์ ช่างประดิษฐ์ วิทยาอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การพัฒนาทักษะการการปูเตียง ด้วยสื่อมัลติมีเดีย
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
นางสาวกุลวีณ์ เกษมสุข ผู้วิจัย
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
โดย อาจารย์นันทิพร ม่วงแจ่ม
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
เรื่อง การพัฒนาทักษะการพิมพ์หนังสือราชการภายนอก ในรายวิชาพิมพ์ไทยด้วยคอมพิวเตอร์ 2 โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอน แบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักศึกษา ระดับ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้บทเรียนมัลติมีเดียแบบ
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
อริส ขวัญเสียงเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
โดย นางกุหลาบ พรหมจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ที่ได้รับการสอนแบบ.
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาวเกสรา ฉายารัตน์ ศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 ห้อง 1 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ผู้วิจัย นางสาวเกสรา ฉายารัตน์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ ฯ

ปัญหาการวิจัย พื้นฐานของวิชาเป็นวิชาภาคทฤษฎี มีความยาก และน่าเบื่อหน่าย เนื่องจากปัญหาเกี่ยวกับพฤติกรรมส่วนตัวของผู้เรียน พื้นฐานในการเรียนรู้ที่แตกต่างกันของผู้เรียน สื่อจะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ได้ง่ายขึ้น มีรูปแบบการนำเสนอที่น่าสนใจ

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ สำหรับผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ห้อง 1 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาวิเคราะห์และออกแบบระบบ สำหรับผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ห้อง 1 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางสรุปผลการวิจัย ตารางที่ 1 จำนวน ร้อยละ ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม (N=32) ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน ร้อยละ 1. เพศ   หญิง 7 21.88 ชาย 25 78.12 2. ผู้ตอบแบบสอบถามรู้จักสื่อการสอนประเภทใดบ้าง (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) สื่อประเภทวัสดุ 4 12.50 สื่อประเภทอุปกรณ์ 8 25.00 สื่อประเภทเทคนิคหรือวิธีการ 16 50.00 สื่อประเภทคอมพิวเตอร์ 78.13 3. ผู้ตอบแบบสอบถามเคยใช้สื่อการสอนหรือไม่ เคย 32 100.00 ไม่เคย - 0.00 4. ผู้ตอบแบบสอบถามมีความถี่ในการใช้สื่อการสอนมากน้อยเพียงใด 1 ครั้ง/สัปดาห์ 10 31.25 2 - 3 ครั้ง/สัปดาห์ มากกว่า 5 ครั้ง/สัปดาห์ 6 18.75

ตารางสรุปผลการวิจัย ตารางที่ 2 จำนวน ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการแปลความของความพึงพอใจของผู้ประเมินที่มี ต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (N=32)

ตารางสรุปผลการวิจัย ตารางที่ 2 จำนวน ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการแปลความของความพึงพอใจของผู้ประเมินที่มี ต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (N=32)

ตารางสรุปผลการวิจัย ตารางที่ 2 จำนวน ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการแปลความของความพึงพอใจของผู้ประเมินที่มี ต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (N=32)

สรุปผลการวิจัย จากผลการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบกับผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ห้อง 1 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จำนวน 32 คน โดยมีข้อมูลเบื้องต้นของผู้เรียนคือ เพศชาย จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 78.12 ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่รู้จักสื่อการสอนประเภทคอมพิวเตอร์มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 78.13 โดยผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 32 คน เคยใช้สื่อการสอนคิดเป็นร้อยเปอร์เซ็นต์ และมีความถี่ในการใช้สื่อการสอนมากที่สุดจำนวน 2 - 3 ครั้ง/สัปดาห์ จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 และคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจในภาพรวมของผู้ประเมินที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนครั้งนี้เป็น 4.64 อยู่ในเกณฑ์ของระดับความพึงพอใจ ระดับมากที่สุด และมีค่า S.D. เฉลี่ยอยู่ที่ 0.508084 มีความคิดเห็นคล้อยตามกันเชื่อถือได้

ตัวอย่างโปรแกรม

ขอบคุณค่ะ