ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
Advertisements

ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คงทนในการเรียนรู้เรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนธุรกิจ ( Business Plan ) วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมรหัส.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ดร.สมพงษ์ อัศวริยธิปัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
นางสาวทัศนีย์ ศรีภุมมา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
ผลการพัฒนาวิธีการสอนโดยใช้แผนผัง ความคิด วิชา ครอบครัวศึกษาและความปลอดภัย ในชีวิต ( ) เรื่อง ความปลอดภัยในการใช้ยา ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตร.
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวพรธนา ช่วยตั้ง
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลอง วิชาการขาย 2 เรื่องกระบวนการขายของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
นางสาวพิชญาภา อิ่มประไพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ (MBAC)
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
โดย อาจารย์นันทิพร ม่วงแจ่ม
อาจารย์นริสรา คลองขุด
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ด้วยวิธีทัศน ศึกษาแบบบูรณาการ รายวิชา งานห้องผ้าและ ซักรีด ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาการโรงแรม.
การพัฒนาพฤติกรรมการกล้าเสดงออก โดยใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติ ในรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 แผนกการตลาด.
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้บทเรียนมัลติมีเดียแบบ
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักการตลาด ของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 1 ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบอภิปรายกลุ่มย่อยกับ การจัดการเรียนรู้แบบปกติ ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ

ปัญหาการวิจัย ในสภาพสังคมปัจจุบัน ประเทศไทยได้เผชิญกับการเปลี่ยนแปลงในด้านความเจริญ และการขยายตัวทางเศรษฐกิจ นวัตกรรม เทคโนโลยี และวิทยาการใหม่ ๆอยู่ตลอดเวลา การจัดการศึกษาของประเทศไทยจึงต้องมีการปรับเปลี่ยนให้ทันต่อสถานการณ์ เพื่อสร้างศักยภาพของคนให้สามารถดำรงอยู่ในสังคมส่วนรวมได้ โดยการจัดกระบวนการเรียนการสอนด้านอาชีวศึกษา เน้นการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปฎิบัติ ซึ่งการจัดการเรียนการสอน จะต้องมีการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ฝึกการคิดวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา

ปัญหาการวิจัย วิชาหลักการตลาด เป็นวิชาหนึ่งที่ผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 1 จะต้องเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 จากประสบการณ์สอนที่ผ่านมาผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับหน้าที่ทางการตลาดและการวิเคราะห์ SWOT น้อยมาก ทั้งนี้อาจสืบเนื่องมาจากผู้เรียนขาดการเรียนรู้ และไม่เข้าใจเนื้อหาวิชาหลักการตลาดในหน่วยการเรียนที่ 3 เรื่องหน้าที่ทางการตลาดและการวิเคราะห์ SWOT ได้มีการกล่าวถึงหน้าที่ทางการตลาดของธุรกิจ รวมถึงการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคในแต่ละผลิตภัณฑ์และธุรกิจ ซึ่งหากผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเป็นอย่างดี จะสามารถนำความรู้ที่ได้เป็นพื้นฐานในการศึกษาวิชาอื่น ๆ ต่อไป

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักการตลาด ที่ได้รับจากการจัดการเรียนรู้แบบอภิปรายกลุ่มย่อยกับการจัดการเรียนรู้ตามปกติ 2. เพื่อจัดการเรียนรู้วิชาหลักการตลาด ที่สอดคล้องกับสภาพของผู้เรียนและสภาพสังคมในปัจจุบัน

กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรตาม ตัวแปรต้น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักการตลาด ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 1 การจัดการเรียนรู้แบบ อภิปรายกลุ่มย่อย

วิธีการดำเนินการวิจัย 1. ก่อนดำเนินการทดลองผู้วิจัยได้ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่มเพื่อแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม 2. ดำเนินการทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักการตลาด 3. ดำเนินการทดลองโดยผู้วิจัย ปฏิบัติการสอนทั้งสองกลุ่มด้วยตนเองและใช้เนื้อหาอย่างเดียวกัน แต่วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนต่างกัน ใช้เวลาในการทดลองสอนกลุ่มละ 12 ชั่วโมง รวม 4 สัปดาห์ 4. เมื่อสิ้นสุดการทดลอง ผู้วิจัยทำการทดสอบหลังเรียนในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น และนำมาวิเคราะห์ด้วยวิธีการทางสถิติเพื่อทดสอบสมมติฐาน

ตารางแสดงผลการวิจัย ผลการวิเคราะห์ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่าง n ก่อนทดลอง หลังทดลอง ค่าเฉลี่ยของผลต่าง S.D. กลุ่มทดลอง 34 8.55 2.81 14.92 2.51 6.34 0.30 กลุ่มควบคุม 38 8.54 2.36 12.15 2.25 3.60 0.11

ตารางแสดงผลการวิจัย ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักการตลาดเรื่องหน้าที่ทางการตลาดและการวิเคราะห์ SWOT ของนักศึกษาที่ได้รับการสอนแบบปฏิบัติการ (การอภิปรายกลุ่มย่อย) กับการสอนแบบปกติ กลุ่มตัวอย่าง n ของผลต่าง S.D. t Sig กลุ่มทดลอง 34 6.34 0.30 27.00* .00 กลุ่มควบคุม 38 3.60 0.11

สรุปผล ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักการตลาด ของนักศึกษาที่ได้รับการสอนแบบปฏิบัติการ(อภิปรายกลุ่มย่อย)สูงกว่าการสอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นั่นแสดงว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่ได้รับการสอนสอนแบบปฏิบัติการ (อภิปรายกลุ่มย่อย) ดีกว่าการสอนแบบปกติซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานที่กำหนดไว้

ขอบคุณครับ