การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ในวาระแห่งชาติด้านการสหกรณ์ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ สร้างและพัฒนาการ เรียนรู้และทักษะการ สหกรณ์สู่วิถีชีวิต ประชาชนในชาติ กลยุทธ์ที่ ๑. ๑ ผลักดันการจัดการ เรียนรู้และทักษะการ สหกรณ์สู่วิถีชีวิต ประชาชนในระบบ การศึกษา กลยุทธ์ที่ ๑. ๒ สร้างและผลักดัน การจัดการเรียนรู้ และทักษะการ สหกรณ์สู่วิถีชีวิต ประชาชนนอก ระบบการศึกษา กระทรวงศึกษา ธิการ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ สนับสนุนและพัฒนาการ รวมกลุ่มของประชาชน ด้วยวิธีการสหกรณ์ให้เป็น รากฐานสำคัญในการ พัฒนาเศรษฐกิจและ สังคม กลยุทธ์ที่ ๒. ๑ สร้างความเข้มแข็งให้ กลุ่มเศรษฐกิจและสังคม ในชุมชนโดยใช้วิธีการ สหกรณ์เป็นแนวทางใน การดำเนินงาน กลยุทธ์ที่ ๒. ๒ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นใช้ระบบสหกรณ์ เป็นกลไกในการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมของ ชุมชน กระทรวงมหาด ไทย กลยุทธ์ที่ ๓ เพิ่มศักยภาพการ เชื่อมโยงเครือข่ายระบบ การผลิต การตลาด และ การเงินของสหกรณ์ กลยุทธ์ที่ ๓. ๑ สร้างเครือข่ายกลุ่ม ผู้ผลิตสินค้าคุณภาพ เพื่อยกระดับสินค้า สหกรณ์ให้ได้มาตรฐาน กลยุทธ์ที่ ๓. ๒ สร้างเครือข่ายการตลาด สินค้าสหกรณ์ กลยุทธ์ที่ ๓. ๓ เชื่อมโยงเครือข่ายทาง การเงินสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์
ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ในวาระแห่งชาติด้านการสหกรณ์ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ สนับสนุนแผนพัฒนาการ สหกรณ์ให้เป็นเครื่องมือ ในการสร้างความ เข้มแข็งของขบวนการ สหกรณ์ กลยุทธ์ที่ ๔. ๑ ผลักดันแผนพัฒนาการ สหกรณ์สู่การปฏิบัติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ ยุทธศาสตร์ที่ ๕ ปฏิรูปโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐขบวนการ สหกรณ์และปรับปรุงกฎหมายสหกรณ์ให้เอื้อต่อ การพัฒนา กลยุทธ์ที่ ๕. ๑ การปฏิรูปโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวกับงาน ส่งเสริมสหกรณ์ กลยุทธ์ที่ ๕. ๒ ปฏิรูปโครงสร้างสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย กลยุทธ์ที่ ๕. ๓ ปรับปรุงโครงสร้างชุมนุมสหกรณ์ และสหกรณ์ กลยุทธ์ที่ ๕. ๔ ปรับปรุงกฎหมายสหกรณ์ให้เอื้อต่อการส่งเสริมและ พัฒนาสหกรณ์ ภายใต้หลักการ อุดมการณ์ และวิธีการ สหกรณ์ให้เหมาะสมกับสหกรณ์แต่ละประเภท กลยุทธ์ที่ ๕. ๕ พัฒนาและปรับปรุงอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องกับกฎหมายสหกรณ์ให้เอื้อต่อการพัฒนา และส่งเสริมสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เป้าหมายตัวชี้วัด เป้าหมายตัวชี้วัด ๑. ประชาชนในชาติรับรู้ เข้าใจการสหกรณ์ และศรัทธาต่อระบบสหกรณ์เพิ่มมากขึ้น ๑. ๑ ร้อยละของจำนวนประชาชนในชาติที่มีความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับการสหกรณ์เพิ่มขึ้น ๒. ประชาชนในชาตินำความรู้เกี่ยวกับการ สหกรณ์ไปใช้ปฏิบัติในวิถีชีวิต และใช้เป็น แนวทางปฏิบัติในการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมในชุมชน ๒. ๑ จำนวนประชาชนในชาติที่นำความรู้เกี่ยวกับการ สหกรณ์ไปใช้ปฏิบัติในวิถีชีวิต ๒. ๒ จำนวนกลุ่มเศรษฐกิจและสังคมในชุมชนที่นำความรู้ เกี่ยวกับการสหกรณ์ไปใช้ในการดำเนินงาน ๒. ๓ จำนวนเครือข่ายความร่วมมือของกลุ่มเศรษฐกิจและ สังคม สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกรที่เกิดขึ้นทั้งทางด้านการ ผลิต การตลาดและการเงิน ๒. ๔ สัดส่วน ปริมาณธุรกิจในระบบสหกรณ์ ต่อ มูลค่า GDP ของประเทศไทย ๒. ๕ จำนวนสหกรณ์ที่ได้รับการจัดตั้ง ส่งเสริม พัฒนา และ สนับสนุนการดำเนินงาน ๓. หน่วยงานและกฎหมายที่เกี่ยวข้องได้รับ การปฏิรูปหรือปรับปรุงให้มีเอกภาพและ สอดคล้องเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตาม ระบบสหกรณ์เพิ่มมากขึ้น ๓. ๑ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในขบวนการสหกรณ์ได้รับการ ปฏิรูปให้มีความเป็นเอกภาพ ๓. ๒ กฎหมายสหกรณ์ได้รับการปรับปรุงและพัฒนาให้ เหมาะสมและสอดคล้องเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของ สหกรณ์