คือกระบวนการที่ผู้สอนมุ่งให้ผู้เรียนมีโอกาสสนทนา แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือระดมความคิดในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นเรื่อง หรือปัญหาที่เกี่ยวข้อง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PBL : Problem – based Learning
Advertisements

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การเขียนบทความ.
การเขียนผลงานวิชาการ
GED 3801 การศึกษาและการมีส่วนร่วมในสถานศึกษา 1(60)
กระบวนการวิจัย(Research Process)
โดย นางสาวเขมณัฏฐ์ อำนวยวรชัย รหัสนิสิต
มองไม่เห็นก็เรียนได้
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง หมุนเวลาพาเพลิน
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
โครงงาน หมายถึง กิจกรรมการศึกษาวิชาการงานที่ส่งเสริม สนับสนุนให้นักเรียนได้เลือกขึ้นมาศึกษา ค้นคว้า ริเริ่มสร้างสรรค์ ผลงานตามที่ตนเองมีความถนัด มีความพร้อมและสนใจ.
 การสอนแบบอภิปราย.
การจัดการเรียนรู้โดยการใช้ชุดมินิคอร์ส
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
คุยกันก่อนเรียน สัมมนาสัตวศาสตร์ ปีการศึกษา 2551.
ศึกษาโครงงานพิเศษ (Study Project) 1/2557
องค์ประกอบของการสัมมนา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสัมมนา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การใช้โปรแกรมประยุกต์ ด้านการนำเสนองาน
การจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา (Case Study Method)
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ “เกม” (Game)
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
Photovoice.
การเรียนรู้แบบโครงการ บูรณาการกระบวนการกลุ่ม
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
รูปแบบการสอน.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
01 WINTER ชื่อเรื่องวิจัย การดำเนินงานนิเทศภายในของ โรงเรียนศรีธนาพณิชยการเทคโนโลยี เชียงใหม่ Template ชื่อผู้วิจัย นางศิริรัตน์ ชุมสาย ณ อยุธยา.
สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนสำหรับท้องถิ่น
การเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนา
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
ตวงรัตน์ นิ่มแสง L.T. ผู้ตรวจการลูกเสือประจำสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
เรื่อง การฟัง ดู คิดและพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
วิจัย เรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้เรื่อง เงินเฟ้อ-เงินฝืด วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ของผู้เรียน.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
การสร้างสื่อ e-Learning
สรุปวิธีสอนที่ใช้ในการฝึกอบรม
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
1. ทำบันทึกการสอนได้ อย่างเหมาะสม 2. ปฏิบัติการสอนตามบันทึก การสอนได้ 1. ทำบันทึกการสอนได้ อย่างเหมาะสม 2. ปฏิบัติการสอนตามบันทึก การสอนได้ เมื่อจบบทเรียนนี้แล้วผู้เข้ารับการ.
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
ชื่อเรื่องวิจัย ผู้วิจัย นางเพียรทอง อุ่นบุญธรรม
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
ผู้วิจัย นางกรุณา อุประดิษฐ์
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คือกระบวนการที่ผู้สอนมุ่งให้ผู้เรียนมีโอกาสสนทนา แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือระดมความคิดในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นเรื่อง หรือปัญหาที่เกี่ยวข้อง กับบทเรียนหรือกลุ่มที่มีความสนใจร่วมกัน โดยมีจุดประสงค์ เพื่อหาคำตอบแนวทาง หรือแก้ปัญหาร่วมกัน

1. เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็นหรือระดมความคิดเห็นร่วมกัน และมีส่วนร่วมในการเรียนรู้อย่างทั่วถึง 2. เพื่อฝึกการทำงานเป็นกลุ่ม การเป็นผู้นำ ผู้ตาม การรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และการเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่ม 3. เพื่อฝึกการค้นคว้าหาความรู้ ข้อมูล ข้อเท็จจริงมาเพื่ออภิปรายให้ผู้อื่นรับทราบ

1. เรื่องหัวข้อประเด็นปัญหาที่ จะอภิปราย 2. ผู้อภิปรายและผู้ร่วมอภิปราย 3. กระบวนการอภิปราย 4. ผลการเรียนรู้ของผู้เรียนหลัง การอภิปราย

การอภิปรายมีรูปแบบหรือประเภทการจัดการอภิปราย หลากหลายรูปแบบอาทิเช่น การอภิปรายเป็นคณะ การอภิปรายแบบฟอรั่ม การอภิปรายแบบสัมมนา การอภิปรายแบบระดมสมอง การอภิปรายแบบโต๊ะกลม การอภิปรายแบบโต้วาที

1. ขั้นตอนการอภิปราย กำหนดหัวข้อ วัตถุประสงค์ รูปแบบอภิปราย ผู้สอนควรกำหนดบทบาทให้ผู้เรียน สื่อการเรียน อาจจะเป็นเอกสารหรือวัสดุต่างๆที่จำเป็น สถานที่ อาจจะเป็นห้องเรียนซึ่งผู้สอนควรจัดโต๊ะเก้าอี้ให้เหมาะสมกับรูปแบบการอภิปราย 2. ขั้นบรรยาย บอกหัวข้อหรือปัญหาและวัตถุประสงค์ บอกเงื่อนไขหลักเกณฑ์ ดำเนินการอภิปราย

3. ขั้นสรุป สรุปผลการอภิปราย ผู้แทนกลุ่มสรุปผลการอภิปราย แล้วนำเสนอผลการอภิปรายต่อที่ประชุม 4. ขั้นสรุปบทเรียน ผู้สอนและผู้รีเยนร่วมกันสรุปสาระสำคัญและแนวคิดที่ ได้จาการอภิปราย 5. ขั้นประเมินผลการเรียน ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันนำข้อมูลไปใช้ในการปรับปรุง การเรียนรู้

1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ ส่งเสริม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 2. ส่งเสริมให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูล จากแหล่งความรู้ต่างๆ 3. ผู้เรียนไม่เบื่อ เพราะมีการปฏิบัติ ตลอดเวลาเรียน

1. ใช้เวลามากพอสมควร ถ้าให้โอกาสผู้เรียนแสดงความคิดเห็นอย่างทั่วถึง 2. ผู้เรียนบางส่วนอาจไม่กล้าแสดงความคิดเห็น 3. ผู้สอนอาจเกิดความขับข้องใจ ถ้าการอภิปรายครั้งนั้นไม่สามารถสรุปผล ในรูปที่ผู้สอนปรารถนา

อาภรณ์ ใจเที่ยง. หลักการสอน. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ โอเดี่ยนสโตร์, บุญชม ศรีสะอาด. หลักและวิธีการสอน. กรุงเทพมหานคร : สุวีริยาสาส์น,

นางสาว นันทนา ดิษสวน รหัสนักศึกษา โปรแกรมวิชาการประถมศึกษา เสนอ อาจารย์ ยุทธนา พันธ์มี มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร