รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
Advertisements

ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
เรื่อง พัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส นักเรียนระดับ ปวช.1
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการถอด-ประกอบระบบเบรกและไล่ลมโดยใช้ชุดแผงวงจรระบบเบรก วิชางานเครื่องล่างยานยนต์ ผู้เสนอ นายเอกชัย แป้นดี สาขาวิชา.
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นางฐานิตา ทองศิริ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
นางสาว ธันยพัต ภักดี วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการจรัลสนิทวงศ์
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการตัดเกลียวด้วยมือ
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
นางสาวอัญชลี คำแปง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปีที่ 1 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่มกัลยาณมิตร.
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ผู้เสนอ นายทนงศักดิ์ กุลเสนชัย สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการถอดและประกอบลิ้นไอดี-ไอเสียของเครื่องยนต์แบบ Over Head Camshaft วิชาเครื่องยนต์แก๊สโซลีน โดยใช้เครื่องถอดและประกอบลิ้นไอดี-ไอเสียแบบนิวแมติกส์
ผู้วิจัย อาจารย์พรรณี เสือรักษ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร

การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ชื่อผลงานวิจัย ศึกษาการพัฒนาทักษะด้านการพิมพ์สัมผัสด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
การแก้ไขปัญหาทักษะการพิมพ์สัมผัสเพื่อพัฒนาความเร็วและ
ใช้เกมพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
เรื่อง การใช้เกมพัฒนาทักษะการเขียนคำภาษาไทย ของนักเรียนระดับชั้น ปวช
การศึกษาการบริหารงานวิชาการของ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
ศึกษาผลสัมฤทธิ์การใช้ ชุดฝึกเสริมทักษะรายวิชา บัญชีเบื้องต้น 1 สำหรับ นักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปี ที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีระยอง บริหารธุรกิจ ผู้วิจัย.
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลอง วิชาการขาย 2 เรื่องกระบวนการขายของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
การพัฒนาทักษะการการปูเตียง ด้วยสื่อมัลติมีเดีย
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ชื่อเรื่อง ศึกษาผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ การเขียน เรื่องชนิดของคำ วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
นางสาวสุภาภักดิ์ แก้วศรีมล วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการประกอบวงจรเสียงไซเรนตำรวจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
รายงานการวิจัย เรื่อง
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
งานวิจัย เรื่อง : การศึกษาผลการฝึกงานของนักเรียน
รายงานการวิจัย การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาธุรกิจที่พัก
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางชลิตา บุญวันท์ การฝึกทักษะการพิมพ์ด้วยการใช้โปรแกรม เกมคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.1.
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบเกมวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ.
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เวอร์เนียร์ไฮเกจ ร่างแบบชิ้นงานโดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ ของนักเรียนช่างไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากำลัง ชั้นปีที่
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักศึกษาระดับชั้น ปวช.2 ผ่านการทำโครงงาน วิทยาศาสตร์ ชื่อผู้วิจัย : นางสาวยุพารัตน์
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส เรื่อง การพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส วิชาพิมพ์ไทยด้วยคอมพิวเตอร์ โดยการใช้บทเรียนสำเร็จรูป ผู้เสนอ นางสาวเฉลิมขวัญ นามประดิษฐ์ สาขาวิชา ชีพพื้นฐาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา คือนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำและพิมพ์งานช้า ผู้วิจัย จึงคิดปูพื้นฐานในด้านการพิมพ์เอกสารให้กับนักเรียนตั้งแต่เบื้องต้นซึ่งจะเริ่มตั้งแต่ ท่านั่ง การวางนิ้ว การสืบนิ้ว ซึ่งในการทำวิจัยนี้ ผู้วิจัยจึงนำเอาบทเรียนสำเร็จรูปในการพิมพ์สัมผัสมาพัฒนานักเรียนในด้านการพิมพ์สัมผัส

วัตถุประสงค์งานการวิจัย เพื่อวิเคราะห์และจัดกลุ่มทักษะการพิมพ์สัมผัส เพื่อศึกษาค้นหาสาเหตุของทักษะการพิมพ์สัมผัส เพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมพิมพ์สัมผัส

ตาราง-ผังสรุปสำคัญ ตอนที่ 1 ตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 การวิเคราะห์และจัดกลุ่มทักษะการพิมพ์สัมผัสวิชาพิมพ์ไทยด้วยคอมพิวเตอร์ พบว่า การจัดกลุ่มนักเรียนที่มีทักษะการพิมพ์ที่ดีและนักเรียนที่มีทักษะการพิมพ์ที่ต้องแก้ไขปรับปรุง ซึ่งจัดได้เป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มที่ 1 นักเรียนที่มีทักษะการพิมพ์ได้คำสุทธิ 35 คำ/นาทีขึ้นไป และ กลุ่มที่ 2 นักเรียนที่มีทักษะการพิมพ์ได้คำสุทธิไม่ถึง 35 คำ/นาที

ตอนที่ 2 ตามวัตถุประสงค์ที่ 2 ศึกษาสาเหตุของทักษะการพิมพ์สัมผัส จากการศึกษาสาเหตุของทักษะการพิมพ์สัมผัสมี 2 กรณี คือ นักเรียนที่มีทักษะการพิมพ์ที่ดีหรือนักเรียนที่พิมพ์เก่ง สาเหตุดังกล่าวมีผลมาจาก 1. นักเรียนใช้คอมพิวเตอร์ในการสื่อสาร 2. นักเรียนเล่นเกมส์มาก 3. นักเรียนมีนิ้วมือที่แข็งแรงเพราะทำงานหนัก นักเรียนที่มีทักษะการพิมพ์ที่ไม่ดีหรือนักเรียนที่พิมพ์ไม่เก่ง สาเหตุดังกล่าวมีผลมาจาก 1. นักเรียนมีโอกาสในการใช้คอมพิวเตอร์น้อย 2. นักเรียนมีนิ้วมือที่ไม่แข็งแรงเพราะอาจไม่เคยทำงานหนัก

ตอนที่ 3 ตามวัตถุประสงค์ที่ 3 เพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมพิมพ์สัมผัส พบว่าค่าเฉลี่ยคำสุทธิของผู้เรียนกลุ่มที่ 1 หลังใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการพัฒนาทักษะการพิมพ์มีประสิทธิภาพสูงกว่าก่อนใช้โปรแกรมสำเร็จรูปมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 44.35 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 8.44 และ ค่าเฉลี่ยคำสุทธิของผู้เรียนกลุ่มที่ 2 หลังใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการพัฒนาทักษะการพิมพ์มีประสิทธิภาพสูงกว่าก่อนใช้โปรแกรมสำเร็จรูปมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 20.05 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 4.86

ผู้อำนวยการวรรณา ตันประภัสร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี ผู้สนับสนุนการวิจัย ผู้อำนวยการวรรณา ตันประภัสร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี สถานศึกษารับรางวัลพระราชทาน 2 ครั้งต่อเนื่อง ระดับอาชีวศึกษาขนาดใหญ่ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ วิสัยทัศน์ มุ่งมั่นพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศและความเป็นสากล ปรัชญา มาตรฐานดี กิจกรรมเด่น เน้นวินัย