ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ. 2554-2555.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
Advertisements

เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
ประชาชน ภาคี กระบวนการ รากฐาน
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ

“...ให้ใช้แนวทางการพัฒนาแบบมี ส่วนร่วมของชุมชน และองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการต่อ ยอดจากต้นทุนและประสบการณ์เดิม ของ สอ. / PCU เพื่อยกระดับเป็นรพ สต. โดยการปรับโครงสร้าง ทรัพยากรบุคคล เครื่องมือและ ระบบงานที่จำเป็น ให้เอื้อต่อการ จัดบริการพื้นฐานและบริการเชิงรุกได้ อย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับความ ต้องการ ปัญหาสุขภาพของชุมชน และบริบทในแต่ละพื้นที่ โดยเริ่มต้น จาก สอ. / PCU ที่มีความพร้อม ก่อน แล้วขยายสร้างเครือข่ายบริการให้ ครอบคลุมทุกพื้นที่ในระยะต่อไป... ”

1. ให้บริการด่านหน้าที่ประชาชนสามารถ เข้าถึงและพึ่งพาได้ตลอดเวลา 2. ให้การดูแลสุขภาพเบื้องต้นแก่ประชาชน ทุกกลุ่มอายุ/ทุกช่วงวัย 3. ให้บริการแบบ Comprehensive Care( รักษา ส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู) 4. ให้บริการแบบ Continuous Care( เชื่อมโยง ต่อเนื่อง ส่งต่อ ส่งกลับ) 5. ให้บริการเชิงรุกโดยยึดครอบครัวและ ชุมชนเป็นฐานการจัดบริการ (Home ward & Community ward) 6. อปท. และภาคีร่วมทั้งภาครัฐและเอกชนมี ส่วนร่วมและสนับสนุน การจัดระบบดูแลสุขภาพชุมชน/ระบบ สุขภาพภาคประชาชน 7. ชุมชนมีความเข้มแข็งสามารถปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพและจัดระบบ เฝ้าระวังสุขภาพด้วยตนเอง

เป้าหมายสุดท้ายของการพัฒนา ( ULTIMATE GOAL ) 1. ประชาชนมีการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพที่ดี 2. ชุมชนมีความเข้มแข็งในการ จัดระบบดูแลสุขภาพด้วยตนเอง 3. ปัญหาโรคและสุขภาพในพื้นที่ได้รับ การแก้ไขแบบครบวงจร 4. ระบบสุขภาพภาครัฐเชื่อมโยงกับ ระบบสุขภาพภาคประชาชน 5. เกิดความสมดุลย์ของค่าใช้จ่ายด้าน สุขภาพ ( สร้าง VS ซ่อม )

เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ (STRATEGIC GOAL ) 1. การพัฒนาบริการด่านหน้า (Front Liner Service) 2. การพัฒนาระบบการดูแลต่อเนื่อง (Consultation/Refer / EMS) 3. การพัฒนาระบบคุณภาพและศักยภาพ บริการ(Service Quality) 4. การพัฒนาระบบ Home ward และ Community ward 5. การพัฒนาระบบการสร้างการมีส่วน ร่วมของอปท./กองทุนฯ 6. การพัฒนาระบบเสริมพลังสร้างความ เข้มแข็งของอสม.และชุมชน

กลยุทธ์ในการ พัฒนา 1.ระบบสุขภาพภาค ประชาชน 2. ระบบสุขภาพ ภาครัฐ 3. ระบบการบริหาร จัดการ (CUP support) บริการดูแลพื้นฐานตาม ช่วงวัย บริการตาม Package / Itemized/Area based การบริหารสนับสนุน HR & การ เสริมสร้างศักยภาพ การบริหารสนับสนุนงบฯ & เวชภัณฑ์ & เครื่องมือฯ การบริหารสนับสนับสนุน MIS/IT&KM บริการที่บ้าน / ชุมชน บริการด่านหน้า / บริการ ส่งต่อ /EMS กองทุนประกันสุขภาพ ตำบล / อปท. อาสาสมัคร / ภาคี สุขภาพ / เครือข่าย

1.ผลการดำเนินงานตามเกณฑ์ 3-ดี 2.ผลการดำเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐาน 4 มิติ 22 ข้อ 3. ผลการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพ PCA 4.ผลการดำเนินงานการดูแล ส่งเสริม สุขภาพตามช่วงวัย 5.ผลการดำเนินงานการควบคุมและป้องกัน โรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่ 6.ผลการดำเนินงานแก้ไขปัญหาโรคและ พฤติกรรมสุขภาพตามนโยบาย 7. ผลการดำเนินงานตาม Package/Itemized/On-top payment ตัวชี้วัดผลการ ดำเนินงานที่สำคัญ

แนวทางการนิเทศติดตาม 1. มาตรการ / แนวทางการบริหารสนับสนุน (CUP support) 2. มาตรการ / แนวทางการแก้ไขปัญหาโรค / สุขภาพ 3. มาตรการ / แนวทางการพัฒนาคุณภาพบริการ 4. มาตรการ / แนวทางการประสานการมีส่วนร่วมของ อปท.& ชุมชน

ข้อมูลประชากร ข้อมูลปัญหาสุขภาพ&โรคของพื้นที่ ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ ข้อมูลสิ่งแวดล้อมและความเสี่ยงด้านสุขภาพ ข้อมูลงบประมาณ: UC/ OP /PPA / Package & Itemized/ON Top ข้อมูลกองทุนประกันสุขภาพตำบล &กองทุน สสส. & กองทุน สช. กรอบงานกรอบคน/ ทรัพยากร กรอบเงินกรอบ คุณภาพ ศูนย์ขัอมูล / MIS หน่วยรวบรวมข้อมูล / transaction หน่วยปฏิบัติ / Operation

(DB 10) 3 – ดี 4/ 22 S PCA 1–a 1–c2–c3–c4–c การดูแลตาม 7 กลุ่มประชากร (DB 1) NCD/CD EMS / Refer + ภาคประชาชน ส่งเสริมสุขภาพ + + กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย แทรกซ้อน -   -    -    (DB 3) (DB 4) (DB 5) HR (DB 7) เครื่องมือ / อุปกรณ์ (DB 8) Financial (DB 9) Data Based Management นโยบาย Package/Itemized ของ สป. สช. ปัญหาสุขภาพของพื้นที่ อาคารสถานที่ (DB6) - (DB 2)

1. การกำหนดขนาดพื้นที่และประชากรให้มีความ เหมาะสมต่อการจัดระบบดูแล (Cashment criteria, On top payment) 2. การยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางในการดูแล ( ตามช่วงวัย / ปกติ / เสี่ยง / ป่วย, Package, Itemized. CMI) 3. การใช้บ้านและชุมชนเป็นฐานในการดูแล ( วิชาการ / ชุมชน / อปท.) 4. การจัดระบบการดูแลให้เชื่อมโยงต่อเนื่องให้ครบ วงจร (Refer, EMS, Skype) 5. การจัดระบบการสนับสนุนจากแม่ข่ายที่เหมาะสม (HR, Budget, Equipment, ยา / เวชภัณฑ์, PCT/QA/MIS) ประเด็นสำคัญในการพัฒนา

สวัสดี สวัสดี