ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปฏิบัติราชการของจังหวัด
Advertisements

๓ ไม่ ๒ มี Road map หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๕ ขั้นที่ ๔
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามกุฎราชกุมาร นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร.
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
งานกลุ่มจัดตั้งและ ส่งเสริมสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน มีนาคม 2552.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน มกราคม 2552.
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แจ้งผลการพิจารณาให้ มท./ สศช. / สงป. - พิจารณาอนุมัติโครงการ
ตัวชี้วัดตามแผนงานงบประมาณ
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดกระบี่
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดกระบี่
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผลการปฏิบัติราชการตามคำ รับรอง การปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ระบบรับรองมาตรฐาน แผนชุมชน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
เจ้าภาพหลัก สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
ผลการดำเนินงาน โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน กข.คจ. จำนวน 43 กองทุน เงินทุนจำนวน 13,678,306 บาท กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จำนวน 48 กลุ่ม เงินสัจจะสะสม.
กระบวนการขับเคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
งบหน้าข้อมูลผู้รับเมล็ดพันธุ์ผักพระราชทานฯ
กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
อัญชลีพร พันธุ์วิไล หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน
วันพุธที่ 20 ตุลาคม 2553 ณ ประชุม War room กรมการพัฒนาชุมชน
การมอบหมายภารกิจผู้นำชุมชน หลังเสร็จสิ้นการฝึกอบรม
เสริมสร้างความยั่งยืน ทางด้านเศรษฐกิจของจังหวัด เศรษฐกิจจังหวัดขยายตัว
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
29 พฤษภาคม ความเป็นมา ตัวชี้วัดที่ 2.1 พีรพร พร้อมเทพ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมส่งเสริม การเกษตร.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ
พวกเรามีความเห็นว่า เป็นอย่างไร ?.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
สรุปผลการดำเนินงาน สพอ.เดิมบางนางบวช ระหว่างวันที่ ตุลาคม 2557
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
สร้างแกนนำหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ปี พฤศจิกายน 2557 โรงแรมเรือนแพ รอยัลปาร์ค พิษณุโลก.
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อให้ทุกคนใน จังหวัดชลบุรีมีหลักประกันสุขภาพ สามารถ เข้าถึงบริการสุขภาพ ที่มีคุณภาพ มาตรฐานสากล.
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558
แนวคิดและหลักการส่งเสริมการตรวจสุขภาพ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
จำนวนของครัวเรือนยากจนที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ.
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้าง สมรรถนะองค์กรให้มีประสิทธิภาพสูง อำนาจหน้าที่ 1. ตรวจราชการ ประสานงาน เร่งรัด ติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ.
1.1 ผลการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติราชการของ จังหวัด 1) ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบายการกำ ดับดูแลองค์การที่ดีจังหวัดแพร่ 2) ปฏิบัติราชการตามคำรับรองปฏิบัติราชการและการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม ตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม กรมการพัฒนาชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555

ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวงและนโยบายสำคัญ/พิเศษของรัฐบาล (น้ำหนัก : ร้อยละ 20) ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 1.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง (น้ำหนัก : ร้อยละ 15) 1.1.1 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงระดับหมู่บ้าน 1.1.2 ระดับความสำเร็จของการสนับสนุน/ส่งเสริมการพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม - มติที่ประชุมเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2555 ณ กระทรวงมหาดไทย ที่ประชุมเห็นชอบให้กรมการพัฒนาชุมชนรับผิดชอบตัวชี้วัด โดยมีกรมการปกครอง และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เป็นหน่วยงานสนับสนุน และให้ สนผ.สป. และ สบจ.สป. เป็นหน่วยงานประสานให้เกิดการบูรณาการร่วมกัน

ตัวชี้วัดที่ 1.1.1 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงระดับหมู่บ้าน น้ำหนัก : ร้อยละ 5 ระดับ 1 หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ 1,755 หมู่บ้าน ระดับ 2 หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ 2,633 หมู่บ้าน ระดับ 3 มีการประเมินความสุขมวลรวม (Gross Village Happiness : GVH) ครั้งที่ 1 (2,633 หมู่บ้าน) ระดับ 4 มีการประเมินความสุขมวลรวมครั้งที่ 2 และความสุขมวลรวมของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบเพิ่มขึ้นร้อยละ 40 (1,054 หมู่บ้าน) ระดับ 5 ความสุขมวลรวมของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบเพิ่มขึ้น ร้อยละ 50 (1,317 หมู่บ้าน)

ตัวชี้วัดที่ 1.1.2 ระดับความสำเร็จของการสนับสนุน/ส่งเสริมการพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม น้ำหนัก : ร้อยละ 5 ระดับ 1 มีการสรุปสถานะแผนหมู่บ้าน/ชุมชนของทุกหมู่บ้านในภาพรวม พร้อมทั้งเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้กับประชาชนและภาคี ส่วนที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย 2 ช่องทาง (พช.) ระดับ 2 คณะกรรมการหมู่บ้าน/ชุมชน จัดเวทีประชาคมเพื่อทำการทบทวน ปรับปรุงและบูรณาการโดยใช้ข้อมูลแผนชุมชนเดิม ข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช.2 ค. เพื่อให้ได้แผนที่เป็นปัจจุบันครบ ทุกหมู่บ้าน (ปค.) ระดับ 3 ตัวแทนองค์กร/เครือข่ายภาคประชาชนที่ได้รับการคัดเลือกจากเวทีประชาคมของแต่ละหมู่บ้านมีส่วนร่วม โดยร่วมดำเนินโครงการ/กิจกรรมในแผนพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชนที่ไม่ใช้งบประมาณอย่างน้อย 2 โครงการ และมีส่วนร่วมในการดำเนินการติดตามความก้าวหน้าของโครงการ/กิจกรรม นั้น (พช.) ระดับ 4 มีการจัดเวทีประชาคมระดับตำบล เพื่อพิจารณาโครงการ/กิจกรรม อย่างน้อยหมู่บ้านละ 1 โครงการ/กิจกรรมและนำเข้าบรรจุในแผน พัฒนาท้องถิ่นหรือแผนของหน่วยงานอื่นๆ (สถ.) พช. ร่วมเป็นวิทยากรกระบวนการ ระดับ 5 มีโครงการ/กิจกรรมในแผนพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชนของหมู่บ้านในระดับ 4 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณหรือร่วมดำเนินการจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือหน่วยงานอื่นๆ ในแต่ละปี อย่างน้อยร้อยละ 20 ของโครงการ/กิจกรรม (สถ.)

ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10) ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 3. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10 ) 3.1 จำนวนของครัวเรือนยากจนที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. (เป็นตัวชี้วัดร่วมระหว่าง พช.+สถ. โดย พช.เป็นเจ้าภาพ) 0.70x (จำนวน คร.ยากจนที่เหลือ45,482 คร.) 0.65x (จำนวน คร.ยากจนที่เหลือ42,233 คร.) 0.60x (จำนวน คร.ยากจนที่เหลือ38,984 คร.) 0.55x (จำนวน คร.ยากจนที่เหลือ35,736 คร.) 0.50x (จำนวน คร.ยากจนที่เหลือ32,487 คร.) 3.2 ร้อยละของเทศบาลและ อบต.ต้นแบบที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด (เป็นตัวชี้วัดร่วมระหว่าง สถ.+พช. โดย สถ. เป็นเจ้าภาพ) 60 (527 แห่ง) 65 (571 แห่ง) 70 (615 แห่ง) 75 (659 แห่ง) 80 (702 แห่ง)

จำนวนของครัวเรือนยากจนที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ.ปี 2554 ตัวชี้วัดที่ 3.1 จำนวนของครัวเรือนยากจนที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ.ปี 2554 น้ำหนัก : ร้อยละ 5 ตัวชี้วัด หน่วยวัด เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 จำนวนของครัวเรือนยากจนที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ.ปี 2554 จำนวน 0.70x (จำนวน คร.ยากจนที่เหลือ45,482 คร.) 0.65x (จำนวน คร.ยากจนที่เหลือ42,233 คร.) 0.60x (จำนวน คร.ยากจนที่เหลือ38,984 คร.) 0.55x (จำนวน คร.ยากจนที่เหลือ35,736 ครัวเรือน) 0.50x (จำนวน คร.ยากจนที่เหลือ32,487 ครัวเรือน)

ตัวชี้วัดที่ 3. 2 ร้อยละของเทศบาลและ อบต ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละของเทศบาลและ อบต.ต้นแบบที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด น้ำหนัก : ร้อยละ 5 ตัวชี้วัด หน่วยวัด เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ร้อยละของเทศบาลและ อบต.ต้นแบบที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 60 65 70 75 80

ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ/ภารกิจหลักของกรมหรือเทียบเท่า (น้ำหนัก : ร้อยละ 20) ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 4. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ/ภารกิจหลัก (น้ำหนัก : ร้อยละ 20) 4.1 ระดับความสำเร็จของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตระดับ 3 มีการจัดสวัสดิการชุมชน 7 4.2 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน 4.3 ร้อยละของผู้นำ อช. ที่ดำเนินการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของครัวเรือนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ จปฐ. ปี 2554 ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด 6 60 65 70 75 80+A

ตัวชี้วัดที่ 4.1 ระดับความสำเร็จของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตระดับ 3 มีการจัดสวัสดิการชุมชน น้ำหนัก : ร้อยละ 7 ระดับ 1 จังหวัดมีการจัดทำแผนการส่งเสริมสนับสนุนกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตระดับ 3 ให้มีการจัดสวัสดิการให้แก่สมาชิกหรือชุมชน ระดับ 2 จังหวัดมีการทบทวนและสร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จำนวนร้อยละ 10 ของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ระดับ 3 (จำนวน 2,155 กลุ่ม) ระดับ 3 คณะกรรมการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตระดับ 3 ที่ผ่านการทบทวนและสร้างความเข้าใจ ดำเนินการจัดเวทีประชาคมเพื่อกำหนดแนวทางและแผนงานขับเคลื่อนกิจกรรมการจัดสวัสดิการชุมชน (จำนวน 2,155 กลุ่ม) ระดับ 4 ร้อยละ 65 ของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ที่ผ่านการจัดเวทีประชาคมกำหนดแนวทางและแผนงานขับเคลื่อนกิจกรรมสวัสดิการชุมชน (1,401 กลุ่ม) สามารถจัดกิจกรรมสวัสดิการได้อย่างน้อย 2 กิจกรรม ระดับ 5 ร้อยละ 70 ของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่ผ่านการจัดเวทีประชาคมกำหนดแนวทางและแผนงานขับเคลื่อนกิจกรรมสวัสดิการชุมชน (1,509 กลุ่ม) สามารถจัดกิจกรรมสวัสดิการได้อย่างน้อย 2 กิจกรรม

ตัวชี้วัดที่ 4.2 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน น้ำหนัก : ร้อยละ 7 ระดับ 1 กำหนดกลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายที่มีความต้องการด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนของแต่ละจังหวัด (ร้อยละ 25 ของกลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่ลงทะเบียนฯ หรือ 4,427 กลุ่ม) ระดับ 2 กลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายมีแผนพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม (4,427 กลุ่ม) ระดับ 3 ผลิตภัณฑ์จากกลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายผ่านการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ จาก KBO จังหวัด ได้ร้อยละ 60 ในภาพรวม (2,656 กลุ่ม) ระดับ 4 ผลิตภัณฑ์จากกลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายผ่านการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ จาก KBO จังหวัด ได้ร้อยละ 62.5 ในภาพรวม (2,767 กลุ่ม) ระดับ 5 มูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากกลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายรวมทั้งหมดเพิ่มขึ้น มากกว่าค่าเฉลี่ยการเพิ่มขึ้นของมูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ทั้งประเทศ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5

ตัวชี้วัดที่ 4. 3 ร้อยละของผู้นำ อช ตัวชี้วัดที่ 4.3 ร้อยละของผู้นำ อช. ที่ดำเนินการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของครัวเรือนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ จปฐ. ปี 2554 ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด น้ำหนัก : ร้อยละ 6 ตัวชี้วัด หน่วยวัด เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ร้อยละของผู้นำ อช. มีทะเบียนครัวเรือนเป้าหมาย มีแผนปฏิบัติการในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตครัวเรือนเป้าหมายและมีการออกไปเยี่ยมเยียนครัวเรือนเป้าหมาย จำนวน 3 ครัวเรือน เฉลี่ย 5 ครั้ง/ ครัวเรือน / ปี ร้อยละ 60 65 70 75 80+A A = มีการสรุปบทเรียน/ผลการดำเนินงานในภาพรวมโดยกรมการพัฒนาชุมชน