วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คงทนในการเรียนรู้เรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนธุรกิจ ( Business Plan ) วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมรหัส.
Advertisements

แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา

วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2556 นางสาวกรรณิการ์ นัยผ่องศรี
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
ผู้วิจัย อาจารย์พรรณี เสือรักษ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
นางสาวจิตตินัฎฐ์ สุขบัณฑิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้เรียนชั้นปวช.1
นางสาวพิชญาภา อิ่มประไพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ (MBAC)
นางสาวมัทนา เครือแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ด้วยวิธี STAD ของนักเรียน 501 สาขางานการบัญชี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ครูโรงเรียนเมืองชลพณิชยการ จ. ชลบุรี
ชื่อเรื่อง การใช้แนวการสอนพหุประสาทสัมผัสเพื่อส่งเสริมความสามารถทางการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ผู้วิจัย นางสาวปวีณา.
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
ชื่อผู้วิจัย :: นางสาวสุทธิดา โชติญาณพงษ์
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย

อาจารย์ชรินทร ชะเอมเทส
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
โดย นางสาวสารภี ศุระศรางค์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาบัญชีอุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญของนักเรียนระดับชั้นปวช.3 สาขางานการบัญชี โดยใช้เทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดย นางสาวนิยตา สีกา วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค

ความสำคัญของปัญหา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) มาตรฐานสาขางานการบัญชี ข้อ 9-12 กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาบัญชีอุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญของนักเรียนระดับชั้นปวช.3 สาขางานการบัญชี ทักษะการบันทึกบัญชีเรื่องรายการปรับปรุงบัญชีของกิจการประเภทอุตสาหกรรม

วัตถุประสงค์ กรอบแนวคิดในการวิจัย เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาบัญชีอุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญระดับชั้นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขางานการบัญชี โดยใช้เทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรต้น เทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาบัญชีอุตสาหกรรมฯ

แนวคิดทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง 1. เทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์(Student Teams – Achievemen Division: STAD) 2. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง งานวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง “ การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความรับผิดชอบทางการเรียนวิชาภาษาไทยที่ได้รับการสอนแบบร่วมมือ แบบ เอส ที เอ ดี (STAD) และการสอนแบบปกติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี” สารนิพนธ์ ของ จิรัชญา ทิขัตติ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

          สรุปจากการศึกษาวิธีการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือกันเทคนิคกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) พบว่าเป็นการจัดการเรียนรู้ที่ให้นักเรียน ได้เรียนเป็นกลุ่มให้ผู้เรียนที่มีความพร้อมด้านสติปัญญาที่มีความแตกต่างกัน ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน ทำให้นักเรียนประสบความสำเร็จในการเรียนได้ สรุปความรู้ที่ได้รับจากงานวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง “ การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความรับผิดชอบทางการเรียนวิชาภาษาไทยที่ได้รับการสอนแบบร่วมมือ แบบ เอส ที เอ ดี (STAD) และการสอนแบบปกติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี” ทำให้ทราบว่ากิจกรรมการเรียนเทคนิคการสอนวิธีสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ทุกวิชาขึ้นอยู่กับครูผู้สอนเป็นผู้ควบคุมกิจกรรมการเรียนการสอนนี้เป็นการพัฒนาผู้เรียนได้ด้วย

เครื่องมือที่ใช้การวิจัย ประชากร: ประชากรคือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขางาน การบัญชีโรงเรียนพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค ปีการศึกษา 2554 จำนวน 4 ห้อง การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการเจาะจง จำนวน 2 ห้องนักเรียนจำนวน 46 คน เครื่องมือที่ใช้การวิจัย 1. แผนการจัดการเรียนรู้วิชาบัญชีอุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ เรื่อง รายการปรับปรุงบัญชี จำนวน 2 สัปดาห์ 2. เทคนิคการสอนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) เป็นระยะเวลาจำนวน 2 สัปดาห์ 3. แบบทดสอบ

การรวบรวมข้อมูล 1. ทดสอบก่อนใช้เทคนิคการสอนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) (Pretest) โดยใช้แบบทดสอบ 2. ดำเนินการสอนตามตารางสอนของทางโรงเรียน ใช้เวลาในการสอนจำนวน 2 สัปดาห์รวมเป็น 6 ครั้งๆ ละ 50 นาที ในขณะสอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนและมีการประเมินผลระหว่างเรียน 3. ทดสอบหลังใช้เทคนิคการสอนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD)(Post-test) ด้วยแบบทดสอบทางการเรียนบัญชีอุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ซึ่งเป็นแบบทดสอบชุดเดียวกับ ที่ใช้ทำแบบทดสอบก่อนการทดลองโดยใช้เวลาเท่าเดิม

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย เพื่อใช้เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในวิชาบัญชีอุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ก่อนเรียนและหลังเรียน ที่ใช้เทคนิคการสอนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) สรุปผลการวิจัย จำนวนนักเรียนทั้งหมด 46 คน มีคะแนนเพิ่มขึ้นหลังจากใช้เทคนิคการสอนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) คิดเป็นร้อยละ 100

ขอบคุณค่ะ