และเราจะเดินไปพร้อมกัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

(Reference Services Database for Academic Resources Center
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
ฐานข้อมูล Nursing Resource Center
ศูนย์บริการสารสนเทศทางเทคโนโลยี (ศสท.)
วิจัยสถาบัน...เรื่องไม่ง่ายแต่ทายท้า
S T A N G M O N G K O L S U K L I B R A R Y งานสารสนเทศและห้องสมุดสตางค์ มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ฐานข้อมูลทางวิชาการ.
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง
สมพงษ์ เจริญศิริ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
กลไกทำงานเพื่อสนับสนุน การยืมระหว่างห้องสมุด ของเครือข่าย ThaiLIS
บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
เกดิษฐ เกิดโภคา สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร

เครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดใน
ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
ควรมีอุปกรณ์ต่อพ่วง เช่น ลำโพง , หูฟัง เนื่องจากมีการบรรยายประกอบสไลด์
อินเตอร์เน็ทเบื้องต้น
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา
Single Search คืออะไร ? เทคโนโลยีสืบค้นสารสนเทศรูปแบบใหม่ที่ สะดวก รวดเร็ว ลดขั้นตอนในการเข้าถึงสารสนเทศฉบับเต็ม ผู้รับบริการสืบค้นข้อมูลครั้งเดียว แต่ได้รับสารสนเทศที่ต้องการจากหลายๆ.
วิชาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
การสืบค้นสารสนเทศ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์สำหรับ นักศึกษาบัณฑิต (Computer for Graduate Students)
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยนครพนม
การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาษาไทย
แผน 4 ปี ( ) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเชื่อมโยงเครือข่ายการเรียนรู้
อินเทอร์เน็ตกับการศึกษาค้นคว้า
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า
OPAC (Online Public Access Catalog)
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
Label Maker 1.1 โปรแกรม Label Maker เป็นโปรแกรมเล็ก ๆ ซึ่งเกิดการความร่วมมือระหว่างบรรณารักษ์และพนักงานด้านคอมพิวเตอร์ เพื่อร่วมกันหาวิธีที่จะปฏิบัติงานและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในงานประจำวัน.
WEB OPAC.
เครื่องยืมหนังสืออัตโนมัติด้วยตนเอง Self Check
สรุปผลการดำเนินงาน ศูนย์ สารสนเทศ ปีงบประมาณ 2554.
ฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม
กระบวนการค้นหาสารสนเทศ
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การพัฒนาระบบ Union Catalog บนเครือข่าย ThaiLIS
บทที่ 8 การประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ.
Virtual Library ห้องสมุดเสมือน.
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ห้องสมุดเสมือนและการเรียนรู้ทางอินเทอร์เน็ต Virtual-Library and E-Learning ดร.ปรัชญนันท์
การบริหารสำนักงานยุคใหม่
การติดตามผลการดำเนินงาน UC/TDC/Reference Database
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
บริการห้องสมุดสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
กลุ่มงานเทคโนโลยี สารสนเทศ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
การค้นคว้าข้อมูลจากฐานข้อมูลต่างๆ ในอินเทอร์เน็ต
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
..เทคโนโลยีการใช้RFIDกับงานในห้องสมุด
LOGO 1. Moodle (Modular Object- Oriented Dynamic Learning Environment) คือ โปรแกรมที่ ประมวลผลในเครื่องบริการ (Server-Side Script) ทำหน้าที่ให้บริการระบบ.
ขอต้อนรับเข้าสู่การนำเสนองาน
โดย สุกาญจนา ทิพยเนตร 1. สร้างสรรค์นวัตกรรมทางเทคโนโลยี สารสนเทศที่ยั่งยืนและมีประสิทธิภาพสูงที่ นำมาสนับสนุนกระบวนการจัดการความรู้ 2. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เชี่ยวชาญ.
TU Library Catalog.
โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ
โรงเรียนเทคโนโลยีภูเขียว
มาตรฐานการจัดเก็บ การ ค้นคืน การแลกเปลี่ยนและการ เชื่อมโยงเครือข่าย สมพงษ์ เจริญศิริ สันติภาพ เปลี่ยนโชติ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ภัยจากเจ้าหน้าที่หรือบุคลากรของหน่วยงาน
โดย นายเฉลิมศักดิ์ ชุปวา 7 ตุลาคม 2552
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยศรี ปทุม ยินดีต้อนรับนิสิตใหม่ ปี การศึกษา
Set Proxy 1. เพื่อให้สามารถเข้าใช้สืบค้นข้อมูลทรัพยากรสนเทศ หรือสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ต่างๆที่ห้องสมุดบอกรับ 2. รวมทั้งการดาวน์โหลดเอกสารฉบับเต็ม ผ่านหน้าเว็บห้องสมุดจากภายนอกเครือข่ายมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
ความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สมพงษ์ เจริญศิริ สันติภาพ เปลี่ยนโชติ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

และเราจะเดินไปพร้อมกัน เพื่อนที่เข้าใจ เพื่อนที่จริงใจ และเราจะเดินไปพร้อมกัน ULibM

สำนักวิทยบริการ ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ INNOPAC ฐานข้อมูลออนไลน์ สหบรรณานุกรม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ eBook Thai Digital Collection RFID VPN ระบบบริหารจัดการสำนักงานอัตโนมัติ

ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ULibM (Union Library Management) เป็นระบบ ที่เกิดบูรณาการจากประสบการณ์การทำงานไม่น้อยกว่าสิบปีทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและงานห้องสมุดตลอดจนผู้พัฒนา ได้ทำงานกับระบบห้องสมุดอัตโนมัติขนาดใหญ่ระดับมหาวิทยาลัย ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็นระบบ INNOPAC, VTLS, HORIZON ฯลฯ อีกทั้ง ระบบสหบรรณานุกรม (Union Catalog) ในประเทศไทยและญี่ปุ่น ทำให้นำความรู้ ความชำนาญและประสบการณ์มาพัฒนาระบบสำหรับห้องสมุดขนาดกลางและขนาดเล็ก ให้ได้มาตรฐานสากล (MARC21) ในการจัดเก็บและการค้นคืนทรัพยากร สนเทศสนเทศ เพื่อให้แหล่งสารสนเทศหรือห้องสมุดมีระบบห้องสมุดอัตโนมัติที่ได้มาตรฐานสากลใช้งาน และสามารถ เชื่อมต่อแลกเปลี่ยนข้อมูล (ISO2709) กับระบบห้องสมุดอื่นได้ในอนาคตซึ่งผู้พัฒนาระบบได้พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทำให้ผู้ที่จะเลือกใช้โปรแกรมสามารถไว้วางใจในการพัฒนาและดูแลระบบต่อไปในอนาคต ในปัจจุบันมีห้องสมุดทั้งโรงเรียนในฝันและห้องสมุดมหาวิทยาลัยใช้ระบบนี้แล้วกว่า 20 ห้องสมุด

ส่วนประกอบการทำงานของระบบ อุปกรณ์ (Hardware) - คอมพิวเตอร์แม่ข่าย (SERVER) สำหรับจัดเก็บข้อมูล - คอมพิวเตอร์ สำหรับบรรณารักษ์ทำงานและให้บริการ - คอมพิวเตอร์สำหรับผู้ใช้บริการสืบค้น - เครื่องพิมพ์เลเซอร์ - เครื่องอ่าน Barcode - เครื่องสำรองไฟฟ้า - อุปกรณ์เครือข่าย

โปรแกรมระบบ (Software) - ระบบปฏิบัติการที่ใช้ Unix (Linux) , Windows2000 Server - โปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ULIBM (Union Library Management) ทำงานบนระบบ Web Bease - ระบบเครือข่าย LAN Intranet หรือ Internet - PHP, MySQL ผู้ดูแลระบบและปฏิบัติงาน - บรรณารักษ์, นักสารสนเทศ, นักคอมพิวเตอร์ หรือผู้ปฏิบัติงานห้องสมุด

BOOK1 SERVER BOOK2 ยืม + คืน บรรณารักษ์ ปฏิบัติงาน BOOK3 BOOK4 BOOK5 เช็คเข้าใช้ห้องสมุด PC + Barcode Reader SERVER BOOK2 ยืม + คืน PC Barcode Reader บรรณารักษ์ ปฏิบัติงาน BOOK3 BOOK4 BOOK5 BOOK6 UPAC1 UPAC2 UPAC3 UPAC4 BOOK7

การทำงานของระบบ : ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ULIBM จะประกอบไปด้วยการทำงาน 3 ส่วน ดังนี้ ULIBM 1 2 3 UPAC STAFF ADMIN

การพัฒนาก้าวต่อไป Virtual Union Catalog Z39.50 ILL RFID

Lib. A Lib. J Lib. B Lib. I VIRTUAL UC. Lib. C Lib. H Lib. G Lib. D Lib. E Lib. F

ขอบคุณครับ Sompong.c@msu.ac.th โทร. 08-5014-3429 suntiparp@yahoo.com โทร. 08-3141-4455

ขอเชิญชวน...สร้างและใช้ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริฯ