การจัดการความรู้ของกรมส่งเสริมการเกษตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
Advertisements

ระบบส่งเสริมการเกษตร
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ความสำคัญและการนำสู่การปฏิบัติ
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
ฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน กองแผนงาน 15 กุมภาพันธ์ 2553
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
KM AAR.
RID INNOVATION 2011 ระบบฐานข้อมูล รายงานสถานการณ์น้ำรายวัน สำนักชลประทานที่ 14.
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
เสริมสร้างความยั่งยืน ทางด้านเศรษฐกิจของจังหวัด เศรษฐกิจจังหวัดขยายตัว
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
พิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานภายใน
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
กลุ่มที่ 3 Result Based Management : RBM
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
สถานการณ์การจัดการความรู้ของกรมส่งเสริมการเกษตร  เริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี 2547 ภายใต้คำรับรองการปฏิบัติราชการ มีแนวทางการดำเนินงาน  ปี 2548 ต่อยอดของเดิม.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) KICK OFF.
นโยบายเร่งรัดการส่งเสริมการเกษตร พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๒
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานการควบคุมภายใน
กลุ่มที่ 1.
การบริหารและกระบวนการวางแผน
************************************************
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ระบบส่งเสริมการเกษตร
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ฝ่ายวิชาการ
การติดตามประเมินผลและรายงาน_Louis_500227
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน
จัดการความรู้เรื่องอะไร ? มีองค์กรใดบ้างที่ตั้งแต่ทำงานมา ไม่ได้ใช้ความรู้ อะไรเลย ? หรือ มีองค์กรใดบ้างที่ไม่เคยรู้ว่ามี ความรู้อะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับการทำงานใน.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระบบส่งเสริมการเกษตร
การจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การใช้เทคโนโลยีกลไกในการบริหารจัดการ สำนักอำนวยการ สป. องค์ความรู้การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ภาพลักษณ์และแนะนำองค์กร.
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
แนวทางการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ปีงบประมาณ 2558
วัฒนธรรมกรมอนามัย.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
การบริหารสู่ความเป็นเลิศ การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการความรู้ของกรมส่งเสริมการเกษตร “ จัดการความรู้ สู่การพัฒนา องค์กรก้าวหน้า ชาติ-ประชาก้าวไกล”

การจัดการ KM :กสก พศ. 2550 1 ให้นโยบาย KM 2 ขยายผลสู่ LO 3 KM Extension 4 สนับสนุน KM 5 สร้างBest Practice 6 ใช้ KM กับเวทีExtension 7 มี KPI KM 8 เสริมแรง KM 9 ติดตามผล KM 10 รายงานผลการปฏิบัติงาน KM

แสดงเพื่อการวัดผลตามคำรับรองในการปฏิบัติราชการในปี 2550 ผลผลิตที่เกิดจากกระบวนการจัดการความรู้ที่หน่วยงานย่อยที่เกี่ยวข้องต้องมีประจักษ์พยาน แสดงเพื่อการวัดผลตามคำรับรองในการปฏิบัติราชการในปี 2550 ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง/Food Safety ประเด็นความรู้ที่จำเป็น 1. การบริหารจัดการและพัฒนาศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง 2. การส่งเสริมการควบคุมคุณภาพผลิตผลการเกษตร Output การแต่งตั้งคณะทำงาน KM (คำสั่ง) การสร้างสภาพแวดล้อมให้เกิด KS ผ่านช่องทางต่าง ๆ (อย่างน้อย 3 สื่อ/ช่องทาง/วิธีการ) ประชุมระดมความคิดเห็นตรวจสอบองค์ความรู้ที่จำเป็นในการบริหารจัดการและพัฒนาศูนย์ (รายงานองค์ความรู้ที่วิเคราะห์) สำรวจผู้รู้ภายในและภายนอกองค์กร (ทะเบียนผู้รู้ด้านการบริหารจัดการและพัฒนาศูนย์) 5. สำรวจแหล่งข้อมูลความรู้ภายในและภายนอกองค์กร (ทะเบียนแหล่งข้อมูล)

แสดงเพื่อการวัดผลตามคำรับรองในการปฏิบัติราชการในปี 2550 (ต่อ) ผลผลิตที่เกิดจากกระบวนการจัดการความรู้ที่หน่วยงานย่อยที่เกี่ยวข้องต้องมีประจักษ์พยาน แสดงเพื่อการวัดผลตามคำรับรองในการปฏิบัติราชการในปี 2550 (ต่อ) 6. ระดับเจ้าหน้าที่จัดกระบวนการเรียนรู้เรื่องการบริหารจัดการและพัฒนาศูนย์ (จังหวัดถอดองค์ความรู้อย่างน้อย 2 เรื่อง/จังหวัด) 7. ระดับเกษตรกรนำความรู้ที่ได้จากกระบวนการไปปฏิบัติ สำนักงานเกษตรอำเภอ ถอดองค์ความรู้อย่างน้อย 1 เรื่อง/อำเภอ) 8. จังหวัดนำความรู้จากข้อ 6 และ 7 มาจัดระบบหมวดหมู่ กลั่นกรองและพัฒนาปรับปรุง นำเข้าระบบฐานข้อมูลระบบสารสนเทศองค์ความรู้ด้านการส่งเสริมการเกษตร (อย่างน้อย 1 เรื่อง/จังหวัด) เป็น Best Practices 9. การประมวลกลั่นกรองความรู้ในการบริหารจัดการและพัฒนาศูนย์ (องค์ความรู้ อย่างน้อย 1 เรื่อง/เขต) เป็น Best Practices 10. การจัดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ DM ระดับอำเภอ เดือนละครั้ง DW ระดับจังหวัด อย่างน้อย 2 เดือน/ครั้ง RW ระดับเขตอย่างน้อย 3 ครั้ง (สรุปเรื่องเล่า/สรุปแต่ละครั้ง) 11. ระบบเพื่อนช่วยเพื่อนศูนย์เรียนรู้ที่เป็นตัวอย่างจุดเรียนรู้ภายในจังหวัด (จังหวัดละศูนย์)

KM Knowledge What to do… How to work…. KM. Philosophy KM. Function KM. Application KM. Model KM. Management KM. & Assets & Management KM. Team CKO Function What to do… How to work….

ทำโดยไม่รู้ มีความเสี่ยง รู้แล้วไม่ทำ ไร้ความหมาย KM Philosophy ทำโดยไม่รู้ มีความเสี่ยง รู้แล้วไม่ทำ ไร้ความหมาย ไม่รู้และไม่ทำ ไร้ประโยชน์ รู้แล้วทำ ทำอย่างผู้รู้ KM คือ ทำในสิ่งที่รู้ และไม่รู้ในสิ่งที่ทำ ทุกสรรพสิ่งคือการเรียนรู้ แล้วเรียนรู้ในทุกสรรพสิ่ง

ฉะนั้น ความสัตย์ >ความรู้ > ศักดิ์ศรี > ทรัพย์สิน ปรัชญา ”คนไทย” เสียสิบ สงวนศักดิ์ ไว้ วงศ์หงส์ เสียศักดิ์ศรี สู้ประสงค์ สิ่งรู้ เสียรู้ เร่งดำรง ความสัตย์ไว้นา ฉะนั้น ความสัตย์ >ความรู้ > ศักดิ์ศรี > ทรัพย์สิน

ฝูงชน.........KM ฝูงชน กำเหนิดคล้าย คลึงกัน ใหญ่ย่อม เพศผิวพรรณ แผกบ้าง ความรู้ อาจเรียนทัน กันหมด ผิดแต่ ชั่วดีกระด้าง อ่อนแก้ฤาไหว การจัดการความรู้ เพื่อการพัฒนา เพื่อการเรียนรู้ เพื่อการจัดการความดีงาม

KM Model: 4*3 มิติการจัดการ ผลลัพท์ต่อ การบริหาร การบริหารคน การบริหารงาน การบริหารองค์กร การพัฒนา การพัฒนาคน การพัฒนางาน การพัฒนาองค์กร การเรียนรู้ การเรียนรู้ของคน การเรียนรู้งาน การเรียนรู้องค์กร สร้างมูลค่าเพิ่ม มูลค่าเพิ่มคน มูลค่าเพิ่มงาน มูลค่าเพิ่มองค์กร

12 หน้าที่การจัดการความรู้ KM Function 4 เป้าหมาย 3 ผลลัพท์ Management Human Development Working Learning Organizing Value Added 12 หน้าที่การจัดการความรู้

เป้าหมาย กระบวนการ ผลลัพท์ ของ KM 1 MH 2 MW 3 MO 4 DH 5 DW 6 DO 7 LH 8 LW 9 LO 10 V H 11 VW 12 VO

12 มิติ การจัดการความรู้ 12หน้าที่การจัดการความรู้ KM Application 12 มิติ การจัดการความรู้ คุณค่า 12หน้าที่การจัดการความรู้ CKO KM Team KNOWLEDGE KNOW HOW KM Culture

KM Management: การบริหารจัดการความรู้ Planning Organnizing KM Publishing Staffing Controlling

วิเคราะห์ความต้องการ/จำเป็น KM Team : ทำอะไร วิเคราะห์ความต้องการ/จำเป็น วิเคราะห์ความรู้ จำแนกความรู้ ใช้ความรู้ ประเมินความรู้ KM. Team ออกแบบ กำหนดความรู้ สร้างความรู้ พัฒนาความรู้

KM Assets & Management วางแผน วางแผน วางแผน บริหาร บริหาร บริหาร พัฒนา ทรัพยากร/สินทรัพย์ วางแผน บริหาร พัฒนา เรียนรู้ วางแผน บริหาร พัฒนา เรียนรู้ วางแผน บริหาร พัฒนา เรียนรู้ มูลค่าเพิ่ม มูลค่าเพิ่ม มูลค่าเพิ่ม

ความรู้:สินทรัพย์/ทรัพยากร 1 วางแผนดี มีมูลค่าเพิ่ม วางแผนไม่ดี ไม่มีมูลค่าเพิ่ม 2 บริหารดี มีมูลค่าเพิ่ม 3 พัฒนาดี มีมูลค่าเพิ่ม 4 เรียนรู้ดี มีมูลค่าเพิ่ม ความรู้ เป็นทรัพยากร/สินทรัพย์ ที่ยิ่งใช้ยิ่งมากมีมูลค่าเพิ่ม ยิ่งไม่ใช้ยิ่งลด ไม่มีมูลค่าเพิ่ม

CKO:Function:UTAPCAR Model 1 Understanding: KM Knowledge 2 Team building : KM Team 3 Assignment : KM Function 4 Practical : KM Action 5 Controling : KM Monitoring 6 Assessment: KM Evaluation 7Reinforcement & Reporting:KM Motivation & Report

* * KM MAN หัว KM หู KM ตา KM ปาก KM มือ KM ใจ KM KM ทำ KM KM “Araya. KM. Model 2007”