กระบวนการ การออกแบบการเรียนการสอน แนวคิดสำคัญ เริ่มจากการคิดทุกอย่างให้จบสิ้น จึงเริ่มต้นจากปลายทางที่ ผลผลิตที่ต้องการ เป็นหลักฐาน พยานแห่งการเรียนรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
Advertisements

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
ระหว่างวันที่ กรกฎาคม 2554 โรงเรียนตากพิทยาคม
การออกแบบการเรียนรู้อย่างไรให้ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
งานนำเสนอ Akanet Maneenut
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
Intel® Teach Program Essentials Course v.10.1
การปลูกพืชผักสวนครัว
ครูเสน่ห์ อุ่นสิม จำใจเสนอ.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Chalermsri Piapan
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
สรุปภาพรวมของหน่อยการเรียนรู้
เมตาคอกนิชัน(Metacognition)
การจัดการเรียนรู้โดยการใช้ชุดมินิคอร์ส
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
วิธีการทางสุขศึกษา.
การวางแผนและการดำเนินงาน
คุณภาพการประเมินนักเรียนและสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน
ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้ (Theme)
“Backward” Unit Design?
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
คู่มือการใช้การเขียนเรียงความ โดยใช้โปรแกรม PowerPoint
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเขียนแผนการสอน ด้านปฏิบัติ 14. นายบัญญัติ สมสุพรรณ ครูเชี่ยวชาญ
เอกสารประกอบการสอน การรวบรวมใบความรู้เป็นรูปเล่ม
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
เทคนิคการฝึกอบรมที่เน้นผู้เข้ารับการอบรม
ฐานข้อมูล Data Base.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การปลูกพืชผักสวนครัว
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
(Competency Based Curriculum)
ลักษณะข้อสอบการอ่าน PISA 2009.
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
ความคิดรวบยอดสอนอย่างไร : การใช้คำถาม ประเภทของคำถาม
สายวิชาเคมี ชั้นปีที่ 3
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
วิธีการคิดวิเคราะห์.
โรงแรมนนทบุรีพาเลซ จังหวัดนนทบุรี 8-9 มีนาคม 2557.
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กระบวนการ การออกแบบการเรียนการสอน แนวคิดสำคัญ เริ่มจากการคิดทุกอย่างให้จบสิ้น จึงเริ่มต้นจากปลายทางที่ ผลผลิตที่ต้องการ เป็นหลักฐาน พยานแห่งการเรียนรู้ แล้วจึงวาง แผนการเรียนการสอนในสิ่งที่ จำเป็นแก่ผู้เรียน เพื่อนำไปสู่ ผลงานหลักฐานการเรียนรู้นั้นได้

รู้ เข้าใจเข้าใจ ปฏิบัติปฏิบัติ

กรุณาวาดภาพ “ ถ้วยกาแฟ ” คนละ 1 ใบ

กระบวนการวางแผนการเรียนการ สอน แบบดั้งเดิม แบบปฏิบัติการ อิงมาตรฐาน

กระบวนการวางแผนการเรียนการสอน  เลือกหัวข้อจาก หลักสูตร  ออกแบบกิจกรรม การเรียนการสอน  ออกแบบและทำ การประเมินผล  ให้เกรดหรือให้ ข้อมูลย้อนกลับ  สอนในหัวข้อใหม่ ต่อไป  กำหนดมาตรฐานที่ จะเรียนรู้  ออกแบบการ ประเมินผล  วางแผนการเรียน การสอนที่มี ประสิทธิภาพ  ทำการประเมินผล  นำข้อมูลเป็นข้อมูล ย้อนกลับ  สอนซ้ำ หรือไปสู่ การเรียนต่อไป แบบดั้งเดิม แบบดั้งเดิม แบบปฏิบัติการอิง มาตรฐาน แบบปฏิบัติการอิง มาตรฐาน

ฉันต้องการให้นักเรียนของ ฉันรู้อะไร และสามารถทำ อะไรได้ ขั้นที่ 1 ฉันจะรู้ได้อย่างไรว่า นักเรียนของฉันรู้ และสามารถทำในสิ่งนั้น ได้ ขั้นที่ 2 อะไรที่จำเป็นต้องทำ เพื่อให้นักเรียน ของ ฉันเรียนรู้ได้ตามที่ ต้องการ ขั้นที่ 3 อะไรที่ฉันควรทำ เมื่อมี นักเรียนไม่รู้ หรือไม่ สามารถทำสิ่งนั้นๆได้ ขั้นที่ 4

ฉันต้องการให้นักเรียน ของฉันรู้อะไร และ สามารถทำอะไรได้ มาตรฐานและรายละเอียด ต่างๆ การคลี่ขยายมาตรฐาน - ระบุแนวคิดที่สำคัญๆ - ความเข้าใจ / ชุดคำถามที่สำคัญ และจำเป็น - ลำดับก่อนหลังของความเข้าใจ และชุดคำถามที่จำเป็น - องค์ความรู้และทักษะต่างๆ ขั้นที่ 1

ร่องรอยหลักฐานแห่งการเรียนรู้และความ เข้าใจ รายละเอียดเกี่ยวกับความสามารถปฏิบัติ ของนักเรียน ความเชื่อมโยงสัมพันธ์ระหว่างการ ประเมินผลกับจุดประสงค์ต่างๆ ความหลากหลายของการประเมินผล – การตรวจสอบรายการ – การสังเกตและการซักถาม – การทดสอบและการให้ตอบปัญหาช่วง สั้นๆ – การแสดงการมีองค์ความรู้ทันทีทันใด – ภาระงานที่บ่งบอกถึงการมีความรู้ ความสามารถ – การประเมินผลด้วยตนเองของนักเรียน ฉันจะรู้ได้อย่างไรว่า นักเรียน ของฉันรู้ และสามารถทำ ในสิ่งนั้นได้ ขั้นที่ 2