ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อทบทวนแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด 4 ปี (พ.ศ – 2561) ของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2556.
การพัฒนาเครือข่ายสถาบันเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟ Coffee Cooperative Networks
เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
กว่าจะมาเป็น … เครือข่าย
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
ประเด็นเน้นหนัก โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 2550
ยุทธศาสตร์การนำเข้า การค้าระหว่างประเทศมีมูลค่ากว่าร้อยละ 55 ของ GDP
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
ชื่อ กนกภรณ์ นามสกุล บุญทรง รหัสนักศึกษา ชั้นปีที่ 2 ภาควิชา พัฒนาการเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
แผนแม่บทงานวิจัย การสร้างเครือข่าย และการสนับสนุนงานวิจัยเชิงพาณิชย์
HR Way Organization Chart HRM HR Strategy Job Description HR Scorecard
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
7 องค์ประกอบ มีการรับรู้และมุมมองที่เหมือนกัน การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
แนวคิดการส่งเสริมปศุสัตว์ไทย
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
เป็นที่ไว้วางใจของผู้ บริโภค
กระบวนการจัดการความรู้
เสริมสร้างความยั่งยืน ทางด้านเศรษฐกิจของจังหวัด เศรษฐกิจจังหวัดขยายตัว
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
ยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของกระทรวงพาณิชย์
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
แผนที่ตำบลหนองไฮ อำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอำนาจเจริญ
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
ภาควิชาพัฒนาการเกษตร
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
กลุ่มที่ 1.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
ระบบส่งเสริมการเกษตร
โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้
โดย...นายประเสริฐ ดอยลอม หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
1 5 มีนาคม 2552 ดร. อภิชาติ พงษ์ ศรีหดุลชัย เครือข่าย สารสนเทศ ข้าวไทยใน อนาคต.
แนวทางการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าวนาปี โดย สำนักพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
(กิจกรรมการเลี้ยงโคเนื้อ)
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
สัมมนากลุ่ม 3 คำถามข้อที่ 2 และ 5 เขต 7, 8, 9 21/8/14.
ชี้แจงแนวทาง การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในฤดูการผลิต ปี 2557/58
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF)
วิสัยทัศน์ทางการค้า ศูนย์กลางการค้า การลงทุน การท่องเที่ยวครบวงจร.
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
การจัดการความรู้ (KM) ปี 2558 สำนักงานเกษตรอำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง โดย กลุ่มเครือข่ายพัฒนาสินค้าข่าเหลืองจังหวัดระนอง สำนักงานเกษตรจังหวัดระนอง ได้ร่วมกับตัวแทนเกษตรกรผู้ปลูกข่าเหลือง พ่อค้าคนกลาง ผู้ประกอบการ สถาบันการศึกษา และหน่วยงานส่งเสริมสนับสนุนการผลิตสินค้าข่าเหลือง จัดประชุมเพื่อพัฒนาเครือข่ายสินค้า (Cluster) ระดับจังหวัด ตามโครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน ปี 2549 จำนวน 2 ครั้ง ซึ่งได้ร่วมกันกำหนดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ข่าเหลือง ซึ่งประกอบด้วย ประเด็นตามแผนภูมิ

Supply chain ข่าเหลืองระนอง ผู้รับซื้อในจังหวัด ผู้ค้าปลีก ผู้บริโภค ผู้ผลิตพันธุ์จำหน่าย เกษตรกร ผู้รับซื้อต่างจังหวัด ผู้แปรรูป

Cluster Map ข่าเหลืองระนอง หน่วยงานภาครัฐ สำนักงานเกษตรจังหวัด พัฒนาที่ดิน สำนักงานพาณิชย์ กรมวิชาการเกษตร สำนักงานสหกรณ์จังหวัด อบต. ธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ผู้รับซื้อต่างจังหวัด ผู้ค้าปลีก ผู้แปรรูป (เครื่องแกง สปา น้ำหมักชีวภาพ) ร้านอาหาร/ภัตตาคาร ธุรกิจสนับสนุน สถาบันการเงิน (ธ.ก.ส. กองทุนหมู่บ้าน) ธุรกิจหลัก เกษตรกร ผู้รับซื้อในจังหวัด สถาบันเฉพาะทาง วิทยาลัยเกษตรฯ ระนอง องค์กรสนับสนุน ยูแสด (สุขสำราญ)

Diamond Model Analysis ข่าเหลืองจังหวัดระนอง ภาครัฐ + ยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัด + ยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหาความยากจน - ไม่มีระบบการรับรองมาตรฐานจาก มกอช. กลยุทธ์การแข่งขัน + ผลผลิตต่อไร่สูง + กำหนดช่วงเวลาในการเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ - การจัดการผลผลิตไม่สอดคล้องกับความ ต้องการของตลาด เงื่อนไขปัจจัยการผลิต เงื่อนไขด้านการตลาด + มีตลาดภายในรองรับผลผลิต + ผลผลิตมีราคาสูง - ตลาดต่างประเทศมีความต้องการ + สภาพแวดล้อมเหมาะสม + ต้นทุนการผลิตต่ำ - ปริมาณพันธุ์มีน้อย + ค่าแรงงานต่ำ (แรงงานต่างด้าว) - ปัจจัยการผลิตราคาสูง + ระบบคมนาคมสะดวก - มีการระบาดของศัตรูพืช + เกษตรกรมีความพร้อมรับความรู้ อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องและสนับสนุน - ไม่มีโรงงานแปรรูป

ยุทธศาสตร์การพัฒนาข่าเหลืองโดยเครือข่ายพัฒนาสินค้า ข่าเหลืองระนอง ยุทธศาสตร์การพัฒนาข่าเหลืองโดยเครือข่ายพัฒนาสินค้า ข่าเหลืองระนอง วิสัยทัศน์การพัฒนาข่าเหลือง ปี 2549 – 2551 “เป็นศูนย์กลางการผลิตข่าเหลืองคุณภาพและพัฒนากลุ่มเพื่อเชื่อมโยงกับตลาดเครือข่าย” เป้าหมาย (1) พัฒนาแหล่งผลิตข่าเหลืองของจังหวัดระนองให้เป็นศูนย์กลางการผลิต ในภาคใต้ (2) เพิ่มปริมาณการผลิตและพัฒนาคุณภาพตามความต้องการของตลาด (3) พัฒนากลุ่มเครือข่ายสินค้าข่าเหลืองให้สามารถดำเนินธุรกิจได้ (4) ศึกษาวิจัยการเพิ่มมูลค่าสินค้าข่าเหลือง

3) ประเด็นยุทธศาสตร์และกลยุทธ์การพัฒนา ผู้รับผิดชอบ 1. การเป็นศูนย์กลางการผลิตข่าเหลือง ในภาคใต้ 1.1 รณรงค์ประชาสัมพันธ์นำเสนอเอกลักษณ์ในตัว สินค้าข่าเหลือง 1.2 ส่งเสริมการใช้ Brandname หรือ ผลักดันเข้าสู่ ระบบสินค้า OTOP ระนอง กสก. / สสจ. / อต. / พณ. / พช. / กวก. / CEO 2. การเพิ่มปริมาณและพัฒนาคุณภาพ ผลผลิต 2.1 จัดตั้งแปลงเรียนรู้การผลิตในทุกอำเภอ กสก. / พด. / กวก. / ธกส. 3. การเพิ่มศักยภาพการดำเนินงานของ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาสินค้าเกษตร 3.1 จัดทำฐานข้อมูลการผลิตข่าเหลือง 3.2 พัฒนาบุคลากรกลุ่มเครือข่ายข่าเหลือง 3.3 พัฒนากลุ่มเครือข่ายสินค้าข่าเหลืองเป็น วิสาหกิจชุมชน กสก. / กวก. / พด. / อปท. / สก. / อต. 4. การเพิ่มมูลค่าสินค้าข่าเหลือง 4.1 ศึกษาวิจัยการเพิ่มมูลค่าสินค้าข่าเหลือง อปท. / ม.แม่โจ้ / วษ.รน.