ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง โดย กลุ่มเครือข่ายพัฒนาสินค้าข่าเหลืองจังหวัดระนอง สำนักงานเกษตรจังหวัดระนอง ได้ร่วมกับตัวแทนเกษตรกรผู้ปลูกข่าเหลือง พ่อค้าคนกลาง ผู้ประกอบการ สถาบันการศึกษา และหน่วยงานส่งเสริมสนับสนุนการผลิตสินค้าข่าเหลือง จัดประชุมเพื่อพัฒนาเครือข่ายสินค้า (Cluster) ระดับจังหวัด ตามโครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน ปี 2549 จำนวน 2 ครั้ง ซึ่งได้ร่วมกันกำหนดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ข่าเหลือง ซึ่งประกอบด้วย ประเด็นตามแผนภูมิ
Supply chain ข่าเหลืองระนอง ผู้รับซื้อในจังหวัด ผู้ค้าปลีก ผู้บริโภค ผู้ผลิตพันธุ์จำหน่าย เกษตรกร ผู้รับซื้อต่างจังหวัด ผู้แปรรูป
Cluster Map ข่าเหลืองระนอง หน่วยงานภาครัฐ สำนักงานเกษตรจังหวัด พัฒนาที่ดิน สำนักงานพาณิชย์ กรมวิชาการเกษตร สำนักงานสหกรณ์จังหวัด อบต. ธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ผู้รับซื้อต่างจังหวัด ผู้ค้าปลีก ผู้แปรรูป (เครื่องแกง สปา น้ำหมักชีวภาพ) ร้านอาหาร/ภัตตาคาร ธุรกิจสนับสนุน สถาบันการเงิน (ธ.ก.ส. กองทุนหมู่บ้าน) ธุรกิจหลัก เกษตรกร ผู้รับซื้อในจังหวัด สถาบันเฉพาะทาง วิทยาลัยเกษตรฯ ระนอง องค์กรสนับสนุน ยูแสด (สุขสำราญ)
Diamond Model Analysis ข่าเหลืองจังหวัดระนอง ภาครัฐ + ยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัด + ยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหาความยากจน - ไม่มีระบบการรับรองมาตรฐานจาก มกอช. กลยุทธ์การแข่งขัน + ผลผลิตต่อไร่สูง + กำหนดช่วงเวลาในการเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ - การจัดการผลผลิตไม่สอดคล้องกับความ ต้องการของตลาด เงื่อนไขปัจจัยการผลิต เงื่อนไขด้านการตลาด + มีตลาดภายในรองรับผลผลิต + ผลผลิตมีราคาสูง - ตลาดต่างประเทศมีความต้องการ + สภาพแวดล้อมเหมาะสม + ต้นทุนการผลิตต่ำ - ปริมาณพันธุ์มีน้อย + ค่าแรงงานต่ำ (แรงงานต่างด้าว) - ปัจจัยการผลิตราคาสูง + ระบบคมนาคมสะดวก - มีการระบาดของศัตรูพืช + เกษตรกรมีความพร้อมรับความรู้ อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องและสนับสนุน - ไม่มีโรงงานแปรรูป
ยุทธศาสตร์การพัฒนาข่าเหลืองโดยเครือข่ายพัฒนาสินค้า ข่าเหลืองระนอง ยุทธศาสตร์การพัฒนาข่าเหลืองโดยเครือข่ายพัฒนาสินค้า ข่าเหลืองระนอง วิสัยทัศน์การพัฒนาข่าเหลือง ปี 2549 – 2551 “เป็นศูนย์กลางการผลิตข่าเหลืองคุณภาพและพัฒนากลุ่มเพื่อเชื่อมโยงกับตลาดเครือข่าย” เป้าหมาย (1) พัฒนาแหล่งผลิตข่าเหลืองของจังหวัดระนองให้เป็นศูนย์กลางการผลิต ในภาคใต้ (2) เพิ่มปริมาณการผลิตและพัฒนาคุณภาพตามความต้องการของตลาด (3) พัฒนากลุ่มเครือข่ายสินค้าข่าเหลืองให้สามารถดำเนินธุรกิจได้ (4) ศึกษาวิจัยการเพิ่มมูลค่าสินค้าข่าเหลือง
3) ประเด็นยุทธศาสตร์และกลยุทธ์การพัฒนา ผู้รับผิดชอบ 1. การเป็นศูนย์กลางการผลิตข่าเหลือง ในภาคใต้ 1.1 รณรงค์ประชาสัมพันธ์นำเสนอเอกลักษณ์ในตัว สินค้าข่าเหลือง 1.2 ส่งเสริมการใช้ Brandname หรือ ผลักดันเข้าสู่ ระบบสินค้า OTOP ระนอง กสก. / สสจ. / อต. / พณ. / พช. / กวก. / CEO 2. การเพิ่มปริมาณและพัฒนาคุณภาพ ผลผลิต 2.1 จัดตั้งแปลงเรียนรู้การผลิตในทุกอำเภอ กสก. / พด. / กวก. / ธกส. 3. การเพิ่มศักยภาพการดำเนินงานของ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาสินค้าเกษตร 3.1 จัดทำฐานข้อมูลการผลิตข่าเหลือง 3.2 พัฒนาบุคลากรกลุ่มเครือข่ายข่าเหลือง 3.3 พัฒนากลุ่มเครือข่ายสินค้าข่าเหลืองเป็น วิสาหกิจชุมชน กสก. / กวก. / พด. / อปท. / สก. / อต. 4. การเพิ่มมูลค่าสินค้าข่าเหลือง 4.1 ศึกษาวิจัยการเพิ่มมูลค่าสินค้าข่าเหลือง อปท. / ม.แม่โจ้ / วษ.รน.