หลักการทั่วไป พิพิธภัณฑ์. สังคม (COMMUNITY) บ้าน (Houses) อาคารที่พัก (Flats & Apartments) สวน (Gardens) สถานศึกษา (Education) โรงพยาบาล (Hospitals) ศาสนสถาน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวอย่างที่ดีของโครงการความร่วมมือเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาล
Advertisements

: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
ความหมายของสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
การบรรยายหัวข้อ เทคนิคการควบคุมงานก่อสร้าง
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
แนวคิดการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
สัปดาห์ที่ 6 เรื่อง วิธีการดำเนินงานสุขศึกษา ในสถานที่ต่างๆ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
การจัดการบริการสารสนเทศ หน่วยที่ 6 การส่งเสริมการใช้บริการสารสนเทศและ
( Organization Behaviors )
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง (Project Citizen)
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
เป้าหมายของหลักสูตร/ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
แนวคิดและรูปแบบการจัดการพิพิธภัณฑ์ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของสังคม
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
หน่วยการเรียนที่ 5 แหล่งสารสนเทศ.
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
การจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา (Case Study Method)
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
เอกสารประกอบการสอน การรวบรวมใบความรู้เป็นรูปเล่ม
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
ภูมิหลังด้านทรัพยากรพันธุกรรม
งานกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การเลือกซื้อสินค้า.
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพในหน่วยงานราชการ ณ ส่วนแผนงานและพัฒนางานประชาสัมพันธ์ สำนักประชาสัมพันธ์เขต 3 เชียงใหม่
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สารสนเทศกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
การศึกษาเพื่อสืบสวนหา ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความเป็นมาของ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเหตุการณ์ใด เหตุการณ์หนึ่ง จากหลักฐานที่ได้มี บันทึกเก็บไว้ หรือประสบการณ์จากผู้รู้
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการทั่วไป พิพิธภัณฑ์

สังคม (COMMUNITY) บ้าน (Houses) อาคารที่พัก (Flats & Apartments) สวน (Gardens) สถานศึกษา (Education) โรงพยาบาล (Hospitals) ศาสนสถาน (Religion) การค้า (COMMERCE) ร้านค้า (Shops & Stores) ภัตตาคาร (Restaurants) โรงแรม (Hotels) สำนักงาน (Office buildings) ธนาคาร (Banks) สนามบิน (Airports) อุตสาหกรรม (IDUSTRY) โรงงาน (Industrial buildings) ห้องวิจัยทดลอง (Laboratories) โรงเกษตรกรรม (Farm buildings) การพักผ่อน (LEISURE) โรงภาพยนต์ (Theatres & Cinemas) พิพิธภัณฑ์ (Museums) พิพิธภัณ ฑ์ (Museum s) พิพิธภัณ ฑ์ (Museum s) )

ความหมายของ พิพิธภัณฑ์ สถาบันที่ตั้ง ขึ้นเพื่อรวบรวม สงวนรักษาและจัด แสดงวัตถุอันมี ความสำคัญทาง วิทยาศาสตร์และ วัฒนธรรม เพื่อ ประโยชน์ในการ รักษา ศึกษา ค้นคว้า และความ เพลิดเพลิน สภาการพิพิธภัณฑ์ระหว่างชาติ (International Council of Museums) ICOM

ประเภทของพิพิธภัณฑ์ แบ่งตามความเป็นเจ้าของ 1 รัฐบาล ( แห่งชาติ จังหวัด ท้องถิ่น ) 2 เอกชน แบ่งตามลักษณะสิ่งที่จัดแสดงแขนงต่าง 1 ศิลป (Art museums) 2 ศิลปสมัยใหม่ (Modern Art Museums) 3 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ (Archaeology and History Museums) 4 ชาติพันธุวิทยาและพื้นเมือง (Ethnology and Folk Museums) 5 ธรรมชาติวิทยา (Natural Science Museums) 6 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Museums of Science and Technology) 7 ส่วนภูมิภาค (Regional Museums) 8 เฉพาะเรื่อง (Specialized Museums)

วัตถุประสงค์ของการศึกษาในพิพิธภัณฑ์ สถาน ประชาชน 1 เพื่อให้ เกิดความรู้ ทราบ ข้อเท็จจริงต่างๆ 2 เพื่อให้ เกิดความคิด เกิด จิตสำนึกในคุณค่าต่างๆ 3 เพื่อให้ เกิดความสุข ได้รับความ เพลิดเพลิน เยาวชน ส่งเสริม ใช้ความคิด ใช้เหตุผล ให้เห็น คุณค่า เกิดความสนใจในเรื่องที่จัดแสดง ฝึก ทักษะการค้นคว้า ศึกษา สร้างนิสัยในการหา ความรู้ตลอดเวลา เพิ่มรสนิยม

2 การจัดแสดง มีการที่ดี ทันสมัย ดึงดูด ความสนใจ เทคนิคการ นำเสนอสัมพันธ์กับวัตถุและเรื่องราว 1 สถานที่ จัดเตรียมความสดวกสบายแก่ ผู้ชมในพื้นที่สาธารณะ 3 เจ้าหน้าที่ มีการประสานงานเพื่อ ดำเนินงาน และบริการ เผยแพร่ จัด นิทรรศการ จัดบรรยายพิเศษ ทางวิชาการ 4 ความร่วมมือภายนอก ได้รับความ ร่วมมือจากภาครัฐหรือ เอกชน ปัจจัยที่ส่งเสริมการดำเนินการพิพิธภัณฑ์

นิยาม และบทบาทพิพิธภัณฑ์ยุคใหม่ เป็นแหล่งเรียนรู้ที่รื่นรมย์ ด้วยเทคนิคที่ ทันสมัย ไม่เน้นการเรียนรู้ที่ชิ้นวัตถุเพื่อรู้จักชิ้น วัตถุ แต่เพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ กับมนุษย์ และมนุษย์กับธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม นำมาซึ่งความมีชีวิตชีวา และความเพลิดเพลิน ไม่แยกตัวออกจากสังคมและ ชีวิตประจำวัน แต่จะต้องส่งเสริมให้ผู้คนมีสำนึกให้วิถีชีวิต ความ เป็นมาทั้งในและนอกท้องถิ่นของตน มีการศึกษาวิจัยต่อเนื่อง เพิ่มพูนองค์ความรู้ แก่คลังความรู้ นิทรรศการถาวร นิทรรศการชั่วคราว นิทรรศการ เคลื่อนที่ นิทรรศการพิเศษ

ลักษณะของการจัดแสดง พิพิธภัณฑ์ยุค ใหม่ นำเสนอแก่นเรื่องราว (Thematic approach) แทนการเน้นแต่วัตถุ ( object - based ) ใช้แนวคิดแบบสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ผู้ชมและสิ่งแสดง (Interactive approach) พิจารณาเลือกใช้สื่อหลายประเภท (multi- medium for the exhibition )

แนวการนำเสนอเนื้อหา ใช้งานวิจัยเป็นพื้นฐานในการสร้างเนื้อหา วิเคราะห์ จัดลำดับความคิด เพื่อสร้าง " แก่น เรื่องรวม " ( theme ) การเล่าเรื่อง (story telling) เกริ่นนำ - การเดินเรื่อง - การสร้างจุดเน้น - การ สรุป - การนำความคิด

แต่ละประเด็นคำนึงถึง Context เพื่อสร้าง ความตระหนักรู้ จุดประกายให้เกิดความใฝ่รู้ ง่าย ต่อการเรียนรู้ และความเข้าใจ ง่ายต่อการจดจำ และนำไปคิดวิเคราะห์ด้วยตนเอง

การออกแบบภายในพิพิธภัณฑ์ (Interior Design) พื้นที่ทั่วไป การออกแบบเชิงพื้นที่ (Spatial) การออกแบบสภาพแวดล้อม (Environment) พื้นที่ส่วนจัดแสดง การออกแบบนิทรรศการ (Exhibition)

สำนักงาน ห้อง บรรยาย รับฝากของ จำหน่าย บัตร ติดต่อ สอบถาม สำนักงาน ห้อง บรรยาย รับฝากของ จำหน่าย บัตร ติดต่อ สอบถาม โถง พักคอย โถง พักคอย บริการสาธารณะ โทรศัพท์ ห้องน้ำ ร้านค้า ร้านอาหาร ห้องสมุด บริการสาธารณะ โทรศัพท์ ห้องน้ำ ร้านค้า ร้านอาหาร ห้องสมุด ส่วนจัดแสดง นิทรรศการถาวร ส่วนจัดแสดง นิทรรศการถาวร คลัง พิพิธภัณฑ์ เก็บรักษา ซ่อมบำรุง คลัง พิพิธภัณฑ์ เก็บรักษา ซ่อมบำรุง นิทรรศการ ชั่วคราว พื้นที่ทั่วไป (Function) เข้า ออก พื้นที่ใช้สอยและความสัมพันธ์ (Function diagram) พื้นที่จัดแสดง (Exhibition)

Room 3 Room 1Room 5 Room 4 Room 2 ลักษณะการจัดกลุ่ม ห้องจัดแสดง Room to Room Corridor to Room Central Hall to Room Room 1 Room 2Room 3 Room 4 Room 1 Room 2Room 3Room 4 Room 1 Room 2Room 3Room 4