1 เบี้ยประชุมกรรมการ
2 ยกเ ลิก 1. พ. ร. ฎ. เบี้ยประชุมกรรมการ พ. ศ พ. ร. ฎ. เบี้ยประชุมและ ค่าตอบแทนที่ปรึกษา ซึ่ง นายกรัฐมนตรีแต่งตั้ง พ. ศ มติ ครม. กำหนดเงินสมนาคุณ รายเดือน พ. ร. ฎ. เบี้ยประชุมกรรมการ พ. ศ มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2548 เป็นต้นไป
3 คณะกรรมการคณะอนุกรรมการที่ มีสิทธิได้รับเบี้ยประชุม แต่งตั้ง โดย (1) ก. ม. / ประกาศพระบรมราชโองการ (2) ประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนฯ ประธานวุฒิสภา (3) คณะรัฐมนตรี / รัฐมนตรีเจ้าสังกัด ซึ่ง ได้รับอนุมัติจาก ครม. (4) นายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหน้ารัฐบาล (5) คณะกรรมการ คณะกรรมการ (1) – (4) คณะอนุกรรมการ (1) – (5)
4 ลักษณะเบี้ยประชุม กรรมก าร (1) ราย เดือน : - แต่งตั้งโดย ก. ม. ประกาศพระบรม ราชโองการ - มีหน้าที่ความรับผิดชอบสูง กำหนด นโยบายซึ่งมีผลกระทบ ต่อการบริหาร เศรษฐกิจ สังคม - รายชื่อและอัตราตามที่ ร. ม. ต. คลัง กำหนด (2) ราย ครั้ง : - แต่งตั้งโดย กม. ประกาศพระบรมราช โองการ นอกจาก (1) - โดยประธานรัฐสภา ประธานสภา ผู้แทนราษฎร ประธานวุฒิสภา - โดย ค. ร. ม. นายก หรือ ร. ม. ต. ซึ่ง ได้รับอนุมัติจาก ค. ร. ม.
5 อนุกรรม การ (1) ราย เดือน : - คณะอนุกรรมการใน คณะกรรมการที่ได้รับรายเดือน - มีหน้าที่ความรับผิดชอบสำคัญ พิเศษ (2) ราย ครั้ง : - คณะอนุกรรมการนอกจาก (1) - อ. ก. พ. กระทรวง ทบวง กรม ให้ได้รับ เฉพาะ ลักษณะเบี้ย ประชุม ( ต่อ ) บุคคลต่างส่วนราชการและ บุคคลภายนอก - ตามรายชื่อและอัตราที่ ร. ม. ต. คลังกำหนด
6 รายเดือน ได้รับเฉพาะเดือนที่เข้า ร่วมประชุม - ตามรายชื่อและอัตราที่ ร. ม. ต. คลังประกาศกำหนด รายครั้ง - คณะกรรมการ ครั้งละไม่เกิน 1,000 บาท - เลขานุการและ ผู้ช่วยเลขานุการ ” 1,000 บาท - คณะอนุกรรมการ ” 500 บาท - เลขานุการและ ผู้ช่วยเลขานุการ ” 500 บาท - ประธานเพิ่ม 1 ใน 4 รอง ประธานเพิ่ม 1 ใน 8 อัตราเบี้ยประชุม
7 ที่ปรึกษาคณะกรรมการ ได้รับเบี้ยประชุม เช่นเดียวกับกรรมการ และเฉพาะที่ปรึกษาซึ่ง ได้รับแต่งตั้งโดย กฎหมาย / ประกาศพระ บรมราชโองการ
8 ต้องมีกรรมการ อนุกรรมการ มาประชุมอย่างน้อย กึ่งหนึ่ง จึงจะเป็นองค์ประชุม และ มี สิทธิเบิกเบี้ยประชุม