Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
Advertisements

งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา

การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
แก้ปัญหาพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการส่งงานโดยใช้หลักไตรสิกขา

จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
โดย นางสาวสารภี ศุระศรางค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน

ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การพัฒนาเกมซ่อนคำศัพท์ภาษาอังกฤษมหาสนุก

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การปรับตัว ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ ๑ โดย นางสาวจิราพร นฤดม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ (MBAC)
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
การนำเสนอผลงานวิจัย โดย : นายเอกพงษ์ วรผล.

พฤติกรรมผู้เรียน การเป็นพลเมืองไทยพลโลก วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ นางสอางค์ แจ่มถาวร วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
นางสาวทัศนา จันทะเรือง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน
ความพึงพอใจของนักเรียนต่อวิชากิจกรรมการจัด ตกแต่งดอกไม้ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ชั้นปีที่ 3 กลุ่ม A31 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557.
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
บทความวิจัย เรื่อง การศึกษาจริยธรรมที่พึงประสงค์ของนักศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การศึกษาองค์ประกอบการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าศึกษาต่อใน วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ นางสาวธัญศญา ธรรมิสกุล วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ.

จัดทำโดย จรัสศรี ดอนชัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
ชื่อผลงานวิจัย ศึกษาการพัฒนาทักษะด้านการพิมพ์สัมผัสด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวไอลดา วัฒนสิทธิ์
นางสาวสุฑารัตน์ ตั้งถาวร โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ

การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
การแก้ไขพฤติกรรมการแต่งกาย
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์


การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.

ความพึงพอใจของสถานประกอบการ ที่มีต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของนักศึกษาฝึกงาน ปวส.1 วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก.
ชื่อเรื่อง ศึกษาพฤติกรรมความมีวินัยใน ตนเอง มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ในการเรียน รายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของ นักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยี
นางสาวอรุณรุ่ง สุวรรณโชติ
การพัฒนาพฤติกรรมการกล้าเสดงออก โดยใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติ ในรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 แผนกการตลาด.
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน

ชื่อเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบเกมวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ.
การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการ สอนรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ชั้นปีที่ 1 กลุ่ม A11 และ A12.
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เวอร์เนียร์ไฮเกจ ร่างแบบชิ้นงานโดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ ของนักเรียนช่างไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากำลัง ชั้นปีที่
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาวไอลดา วัฒนสิทธิ์ เรื่อง การพัฒนาบุคลิกภาพของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นปีที่ 1 โดยใช้ทฤษฎีแรงจูงใจ วิจัยโดย นางสาวไอลดา วัฒนสิทธิ์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)

ปัญหาในการวิจัย ด้วยทางวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) มุ่งเน้นการพัฒนาบุคลิกภาพโดยกำหนดคุณลักษณะ 5 ประการ คือ มีวินัย ใฝ่เรียนใฝ่รู้ บุคลิกภาพ สุขอนามัย เศรษฐกิจพอเพียง พบว่านักศึกษาบางส่วนยังขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องบุคลิกภาพที่ดีและไม่ให้ความร่วมมือหรือขาดความรับผิดชอบในการปฏิบัติตนตามกฎระเบียบของทางวิทยาลัยฯ ทำให้นักศึกษาแต่งกายไม่สุภาพ มาเรียนไม่ตรงเวลา พูดจาไม่สุภาพ ไม่ส่งงาน ไม่เข้าร่วมกิจกรรมของทางวิทยาลัยฯ ซึ่งการพัฒนาบุคลิกภาพของบุคคลจะกระทำได้นั้น เราต้องทราบเสียก่อนว่าบุคคลนั้นจะมีบุคลิกภาพอย่างไร อันนำมาซึ่งการค้นหาสิ่งที่ดีเพื่อการส่งเสริมสนับสนุน หรือค้นหาส่วนบกพร่องเพื่อการปรับปรุงแก้ไขต่อไป ทั้งนี้เพราะบุคลิกภาพของบุคคลสามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้ตามประสบการณ์ที่เราเรียนรู้มาตลอดชีวิต บุคลิกภาพของบุคคลเปลี่ยนแปลงไปตามวัยและการเจริญเติบโตได้เหมือนร่างกาย ส่วนใดที่บกพร่องก็สามารถปรุงแต่งให้ดีขึ้น

กลุ่มตัวอย่างและวัตถุประสงค์ของการวิจัย ประชากร นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขางานบัญชี สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขางานภาษาต่างประเทศและสาขางานการท่องเที่ยว จำนวน 215 คน กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 โดยเปิดตารางของ Krejciec and Morgan โดยวิธีการสุ่มแบบเจาะจงกับนักศึกษา และใช้วิธีการสุ่มอย่างง่ายกับนักศึกษา ได้จำนวน 136 คน วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 โดยใช้ทฤษฎีแรงจูงใจ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสำรวจก่อนและหลังของการพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้ทฤษฎีแรงจูงใจ

การวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ ตารางที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ข้อมูลทั่วไป จำนวน (n=136) ร้อยละ เพศ ชาย หญิง สาขาของนักเรียน คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การบัญชี ภาษาต่างประเทศ การท่องเที่ยว 52 84 46 54 20 16 38 62 33.8 39.8 14.7 11.7

การวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ ตารางที่ 2 ผลสัมฤทธิ์ความพึงพอใจของนักศึกษากับการพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้ทฤษฎีแรงจูงใจ   จำนวน (N) X S.D. t (P) ก่อนพัฒนาบุคลิกภาพ 136 4.24 0.33 15.323 .000 หลังพัฒนาบุคลิกภาพ 4.52

การวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ ตารางที่ 3 ความพึงพอใจของนักศึกษากับการพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้ทฤษฎีแรงจูงใจ ที่ รายการ ระดับความคิดเห็น ของนักเรียน (N 136) ผลการ ประเมิน เกณฑ์การตัดสิน X S.D. 1 นักศึกษาแต่งกายถูกต้องตามระเบียบของวิทยาลัยฯ 4.65 0.54 ดีมาก ผ่าน เกณฑ์ 2 นักศึกษามาเรียนตรงเวลา 4.52 0.70 ผ่านเกณฑ์ 3 นักศึกษามีมารยาทที่แสดงออกทางกายอย่างเหมาะสม 4.46 0.65 ดี 4 นักศึกษามีอารมณ์ขัน ยิ้มแย้มแจ่มใส 4.61 0.50

การวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ ตารางที่ 3 ความพึงพอใจของนักศึกษากับการพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้ทฤษฎีแรงจูงใจ ที่ รายการ ระดับความคิดเห็น ของนักเรียน (N 136) ผลการ ประเมิน เกณฑ์การตัดสิน X S.D. 5 นักศึกษาใช้คำพูดที่สุภาพ สร้างสรรค์ต่อตนเองและผู้อื่น 4.53 0.57 ดีมาก ผ่านเกณฑ์ 6 มีวิจารณญาณในการตัดสินใจดี 4.47 0.62 ดี 7 มีความคิดสร้างสรรค์และความจำดี 4.41 0.59 8 นักศึกษาส่งงานและการบ้านตรงเวลาที่กำหนด 4.49 0.61

การวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ ตารางที่ 3 ความพึงพอใจของนักศึกษากับการพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้ทฤษฎีแรงจูงใจ ที่ รายการ ระดับความคิดเห็น ของนักเรียน (N 136) ผลการ ประเมิน เกณฑ์การตัดสิน X S.D. 9 นักศึกษาทำผิดระเบียบจะพยายามแก้ไขโดยไม่ย่อท้อ 4.52 0.62 ดีมาก ผ่านเกณฑ์ 10 เป็นผู้มีวินัย คุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่ดี 4.45 0.65 ดี 11 เข้าเรียนตรงเวลา ไม่ขาดเรียน ไม่หนีเรียน 4.63 0.56 12 เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของทางวิทยาลัยฯ สม่ำเสมอ 4.54 0.64 รวม 0.61

สรุปผลการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการเป็นการสอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการพัฒนาบุคลิกภาพของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 โดยใช้ทฤษฎีแรงจูงใจ พบว่าโดยภาพรวมความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก ค่าเฉลี่ย คือ 4.52 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า สอดคล้องกับนักศึกษาแต่งกายถูกต้องตามระเบียบของวิทยาลัยฯ มีค่าเฉลี่ย 4.65 รองลงมา คือ เข้าเรียนตรงเวลา ไม่ขาดเรียน ไม่หนีเรียน มีค่าเฉลี่ย 4.63 และน้อยที่สุดคือ มีความคิดสร้างสรรค์และความจำดี

สรุปผลการวิจัย