INSPIRING THAILAND โครงการความร่วมมือเพื่อการ เปลี่ยนประเทศไทย Inspiring Thailand ประชาช น เอกชน รัฐ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นำเสนอในงานเปิดตัว Media Inside Out Group 14 กรกฎาคม 2555.
Advertisements

การขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ด้วยการวิจัย
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
แผนกลยุกต์การจัดการศึกษาเขตพื้นที่ การศึกษานครพนม เขต 1.
แนวคิด ในการดำเนินงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี

สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
ประเทศไทยกับการเตรียมความพร้อมของเด็กในยุคสื่อใหม่ในศตวรรษที่ ๒๑
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
นายกิติศักดิ์ สินธุวนิช รองเลขาธิการฯ 30 มิถุนายน 2549
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
“ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การ วิจัย และนวัตกรรม พัฒนาการเรียนรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ตั้งแต่วัยเด็ก ต่อเนื่องทุกระดับการศึกษา เพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ให้
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
สรุปการฝึกอบรม วันแรก แรงบันดาลใจ ความ คาดหวัง วิเคราะห์สถานการณ์ แรงงานจากวิกฤติ เศรษฐกิจ กรณีศึกษาที่เกิดขึ้น จริง ประวัติศาสตร์แรงงาน ไทย วันที่สอง.
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
เป้าหมายร่วมแห่งชาติ
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
วิสัยทัศน์ “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอ ภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง”
กลุ่มที่ กลุ่มที่ 9 สองแคว โครงการส่งเสริม สินค้าเกษตรที่ ปลอดภัยและได้ มาตรฐาน ( ข้าว ) วิทยากรประจำกลุ่ม อ. พล ภัทร วารี ผู้ช่วยวิทยากร นาย สมชาย ชะฎาดำ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

INSPIRING THAILAND โครงการความร่วมมือเพื่อการ เปลี่ยนประเทศไทย Inspiring Thailand ประชาช น เอกชน รัฐ

ประเทศไทยเผชิญกับวิกฤติครั้งใหญ่ ที่สุดในประวัติศาสตร์ o วิกฤติเศรษฐกิจ - ประเทศไทยติดกับดักรายได้ปาน กลาง ธุรกิจขาดการพัฒนา ขาดความสามารถในการ แข่งขัน ขาดนวัตกรรม ขาดแรงงานที่มีทักษะ o วิกฤติการเมือง – ประเทศไทยมีความขัดแย้งทาง การเมือง มาอย่างต่อเนื่องยาวนานกว่า 10 ปี และยังไม่ สามารถหาทางออกที่ยั่งยืนได้ o วิกฤติทางสังคม สิ่งแวดล้อม – ประเทศไทยมีความ เหลื่อมล้ำสูงติดอันดับโลก ทุจริตคอรัปชั่นเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง มีการทำลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จนเสียสมดุล o วิกฤติการพัฒนาคน - ระบบการศึกษาไทยไม่ตอบ โจทย์ของสังคมไม่สามารถผลิตคนที่มีคุณภาพ ทั้งที่มี งบประมาณสูงอันดับสองของโลก แต่ผลสัมฤทธิ์ทาง การศึกษากลับต่ำกว่าประเทศเพื่อนบ้าน

เราจะเปลี่ยนประเทศไทย ได้อย่างไร ?

ต้องปลุกให้คนไทยทุกคน ทุกภาคส่วนร่วมกันเปลี่ยน ประเทศไทย

ประเทศ ไทย วิกฤติ การเมือง เศรษฐกิจ สังคม 2. วิสัยทัศน์ใหม่ร่วมพัฒนาประเทศไทย 1. ภาคีเพื่อการพัฒนาประเทศไทย ( ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคสังคม ) 3. ผู้นำรุ่นใหม่ + ร้อยโครงการเปลี่ยนประเทศ (100,000 คน ) 4. ค่านิยมใหม่ – Active Citizen (1 ล้านคน ) ประเทศ ไทย ที่พัฒนาอย่าง สมดุล เศรษฐกิจ การเมือง สังคม คน

1. ภาคีเพื่อการพัฒนาประเทศ ไทย การเมือง ผลประโยชน์ของกลุ่ม ผลประโยชน์ของประเทศ First Sector – ภาครัฐที่โปร่งใส และ เป็นมืออาชีพ Second Sector – ภาคธุรกิจ เข้ามามี ส่วนร่วม ในการพัฒนา ประเทศ Third Sector – ภาคสังคม ที่เข้มแข็ง และทันสมัย

2. วิสัยทัศน์ใหม่ร่วมพัฒนา ประเทศไทย การระดมความคิดระดับประเทศ การระดม ความคิด ผ่านสื่อ ออนไลน์ การสำรวจ ความคิด ผ่านโพลล์ เวทีระดมความคิด 77 จังหวัด การระดมความคิดผ่าน หน่วยงานต่างๆ หน่วย ราชการโรงเรียน ท้องถิ่น องค์กรเอกชน ฯลฯ สื่อออนไลน์

3. ผู้นำรุ่นใหม่และโครงการเพื่อ ขับเคลื่อนวิสัยทัศน์ ประเทศไทยและนำไปสู่การปฏิบัติ ในทุกระดับ ทำงานร่วมกับสถาบันพัฒนาผู้นำเพื่อสร้างผู้นำรุ่นใหม่ที่มีมิติของการพัฒนาสังคม ( ผู้นำจาก ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ท้องถิ่น ฯลฯ ) ร่วมพัฒนาร้อยโครงการ เปลี่ยนประเทศ ( โครงการที่สร้างผลกระทบสูงต่อสังคม ) Mapping ผู้นำเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (100,000 คน )

4. สร้างค่านิยมใหม่คนไทย – ACTIVE CITIZEN สื่อกระแสหลักละคร ภาพยนตร์ เพื่อสร้างค่านิยมใหม่ Campaig n ปลุกคนไทยให้ร่วมกันเปลี่ยนแปลง สังคมให้น่าอยู่ยิ่งขึ้น ผ่านปฏิบัติการ ระดับพื้นที่ กองทุนสื่อสร้างสรรค์ เพื่อสนับสนุนการสร้าง ละคร ภาพยนตร์ สื่อออนไลน์ ที่ดี และสนับสนุนแผนรณรงค์เพื่อสร้างค่านิยมใหม่ใน สังคมไทย การระดมความคิด และปฏิบัติการในทุก ระดับ พลเมืองที่ตื่นตัวและ ลงมือทำเพื่อส่วนรวม (Active Citizen)

BIG DREAM : VISION THAILAND 2575 กระบวนการ ปฏิรูป ร้อย โครงการ เปลี่ยน ประเทศ INSPIRING THAILAND INPUT SYNERGY INPUT Active Citizens การสื่อสาร สังคม Massive Participation Movement PLATFORM รัฐเอกชน วิชาการสังคม เครือข่าย องค์กร

ผลที่คาดว่าจะได้รับ o เกิดวิสัยทัศน์ร่วมในการพัฒนาประเทศ โดย เป็นวิสัยทัศน์ ที่มองการพัฒนาที่สมดุล ทั้งด้าน เศรษฐกิจ การเมือง สังคม สิ่งแวดล้อม และการ พัฒนาคน o เกิดผู้นำรุ่นใหม่ จากทุกภาคส่วนที่ให้คุณค่ากับ การพัฒนาประเทศไทย และร่วมมือกันในการ ขับเคลื่อนวิสัยทัศน์ประเทศไทยในระยะยาว o เกิดการลงมือปฏิบัติจริงสร้างการเปลี่ยนแปลง จากทุกภาคส่วนผ่านโครงการที่มีผลกระทบทาง สังคม กลายเป็นพลังร่วมและสร้างแรงบันดาลใจ ให้คนไทยทั้งประเทศ o เกิดค่านิยมใหม่ ของคนไทย ที่เป็นพลเมืองที่ ตื่นตัวและมีคุณภาพ (A ctive Citizen) และร่วม สนับสนุนการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน เกิดกระแสร่วมการปฏิรูปประเทศไทย ของคนไทยทั้งประเทศ

ถึงเวลาแล้ว ที่คนไทยจะร่วมมือกัน เปลี่ยนประเทศไทย