งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นำเสนอในงานเปิดตัว Media Inside Out Group 14 กรกฎาคม 2555.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นำเสนอในงานเปิดตัว Media Inside Out Group 14 กรกฎาคม 2555."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นำเสนอในงานเปิดตัว Media Inside Out Group 14 กรกฎาคม 2555

2 ผลการศึกษาเชิงเปรียบเทียบพบว่า
ทีมาของโครงการ ปี รศ.ดร.วิลาสินี พิพิธกุล ทำการศึกษาวิจัย เรื่อง การปฏิรูปสื่อ : การสร้างสารสนเทศที่มีคุณภาพและการตรวจสอบโดยสังคม ผลการศึกษาเชิงเปรียบเทียบพบว่า - ในต่างประเทศ บางประเทศมีองค์กรตรวจสอบสื่อ ที่มีการจัดโครงสร้างองค์กร อย่างเป็นระบบ มีคณะทำงานประจำ มีการเชื่อมโยงงานกับกลุ่มสังคมอื่นๆ รวมทั้งภาครัฐและเอกชน มีช่องทางให้ผู้บริโภคสื่อได้มีส่วนร่วม และมีหลักสูตรการรู้เท่าทันสื่อ ฯลฯ

3 ในขณะที่การตรวจสอบสื่อของไทย พบว่า
ปี รศ.ดร.วิลาสินี พิพิธกุล ทำการศึกษาวิจัย เรื่อง การปฏิรูปสื่อ : การสร้างสารสนเทศที่มีคุณภาพและการตรวจสอบโดยสังคม ในขณะที่การตรวจสอบสื่อของไทย พบว่า ไม่มีรูปแบบที่ชัดเจน ที่พบเป็นเพียงกิจกรรมหนึ่ง ขององค์กรพัฒนาเอกชน จำกัดอยู่แค่การตรวจสอบสื่อสิ่งพิมพ์ และเป็นการตรวจสอบแบบเชิงรับ ยังไม่เปิดโอกาสให้ผู้บริโภคมีส่วนร่วมมากนัก ยังไม่สามารถสร้างเครือข่ายทางสังคมได้เท่าที่ควร

4 ( civil society ) ที่ไม่ใช่องค์กรพัฒนาเอกชน
ปี รศ.ดร.วิลาสินี พิพิธกุล ทำการศึกษาวิจัย เรื่อง การปฏิรูปสื่อ : การสร้างสารสนเทศที่มีคุณภาพและการตรวจสอบโดยสังคม งานวิจัยนี้ได้เสนอให้มีองค์กรตรวจสอบสื่อภาคประชาสังคม ( civil society ) ที่ไม่ใช่องค์กรพัฒนาเอกชน - มีคณะทำงานจากหลากหลายสาขา เพื่อทำหน้าที่ ตรวจสอบสื่อหลากหลายประเภท โดยเฉพาะอินเตอร์เน็ต และสื่อบันเทิง -มีมาตราการรักษาความโปร่งใส สร้างความน่าเชื่อถือ -มีช่องทางการเผยแพร่ที่หลากหลาย - มีการดำเนินการเชิงรุก เช่น การให้ความรู้ การสร้างจิตสำนึก แก่ผู้บริโภค - ใช้ประโยชน์จากสื่ออินเตอร์เน้ตในการเปิดพื้นที่สาธารณะและการระดมพลัง และสร้างเครือข่ายกับกลุ่มอื่นๆ อย่างกว้างขวาง

5 ช่วง 3 ปีแรกของโครงการ (2548 - 2551)
“โครงการศึกษาและเฝ้าระวังสื่อ เพื่อสุขภาวะของสังคม” ในแผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ งบประมาณจากกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

6 ช่วง 3 ปีแรกของโครงการ (2548 - 2551)
จุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาวิเคราะห์เนื้อหาที่สื่อโดยเฉพาะฟรีทีวีในประเด็นที่สำคัญ น่าสนใจ ด้วยวิธีวิทยาที่น่าเชื่อถือ เพื่อรายงานสังคม อย่างมุ่งหวังกระตุ้นการพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานงานรายการ/เนื้อหาสื่อ และเพื่อให้ผู้รับสื่อสนใจในการศึกษาวิเคราะห์เนื้อหาสื่อ

7 ช่วง 3 ปีแรกของโครงการ (2548 - 2551)
ผลงานการศึกษาวิเคราะห์ที่ได้รับความสนใจจากสื่อและสังคม เช่น -รายการโทรทัศน์สำหรับเด็ก -ฟรีทีวีกับกรณีการชุมนุมของประชาชน -โทรทัศน์ไทยมองผู้ชมเป็น”ผู้บริโภค”หรือ”พลเมือง” -รายการเพื่อประโยชน์สาธารณะในฟรีทีวี -สื่อโทรทัศน์กับการรายงานข่าวการเลือกตั้ง ‘50 -อคติและภาพตัวแทนในละครซิทคอม -ฯลฯ

8 ช่วง 2 ปีต่อมาของโครงการ (2551 – 2553)
“โครงการศึกษาเฝ้าระวังสื่อและพัฒนาการรู้เท่าทันสื่อ เพื่อสุขภาวะของสังคม” ด้วยการสนับสนุนจากกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)

9 ช่วง 2 ปีต่อมาของโครงการ (2551 - 2553)
จุดมุ่งหมาย - ดำเนินการศึกษาวิเคราะห์เนื้อหาสื่อ และ กิจกรรมให้ความรู้เรื่องวิธีวิทยาการศึกษาวิเคราะห์เนื้อหาสื่อ ผลงานการศึกษาวิเคราะห์ที่ได้รับความสนใจจากสื่อและสังคม เช่น - ฟรีทีวีกับการรายงานข่าวการชุมนุมทางการเมือง - ปรากฎการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองในสังคมออนไลน์ - โฆษณาแฝงและตรงในฟรีทีวี - บทบาทสื่อมวลชนในการปฏิรูปประเทศไทย - ฯลฯ

10 “โครงการเสริมสร้างสื่อมวลชนศึกษาเพื่อสุขภาวะ
ปีที่ 6 ของโครงการ (2554) 5 ปีแรก “เฝ้าระวังสื่อ เพราะสื่อเฝ้าระวังสังคม” ปีที่ 6 ออกแบบงานโครงการให้สอดคล้องกับการปฏิรูปสื่อและสังคม “โครงการเสริมสร้างสื่อมวลชนศึกษาเพื่อสุขภาวะ (Media Monitor)” ดำเนินการศึกษาเฝ้าระวังสื่อเพื่อการปฏิรูปสื่อทั้งกระบวนการให้เสริมสร้างการปฏิรูปสังคม ปี 2554 จึงควรเป็นปีเริ่มต้นของการดำเนินการงานโครงการเพื่อให้การปฏิรูปสื่อกระจายเสียงและแพร่ภาพ ให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ

11 หน้าเว็บไซต์โครงการ

12 ภาพบรรยากาศการทำงานในโครงการ

13 มีการทำงาน 3 ส่วน ดังนี้
“โครงการเสริมสร้างสื่อมวลชนศึกษาเพื่อสุขภาวะ (Media Monitor)” มีการทำงาน 3 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 การศึกษาวิเคราะห์เนื้อหา อย่างเชื่อมโยงกับบทบาทหน้าที่สื่อมวลชน และผลของสื่อต่อสังคม ส่วนที่ 2 การศึกษาวิเคราะห์กฎหมายสื่อ โครงสร้างความเป็นเจ้าของและระบบ สื่อสารมวลชน ส่วนที่ 3 การศึกษาวิเคราะห์เนื้อหาสื่อ อย่างสะท้อนให้เห็นความเชื่อมโยงระหว่างผู้ผลิตสื่อ เนื้อหาสื่อและผู้รับสื่อที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย

14 รูปธรรมของงานแต่ละส่วน
ส่วนที่ 1 การศึกษาวิเคราะห์เนื้อหา อย่างเชื่อมโยงกับบทบาทหน้าที่สื่อมวลชน และผลของสื่อต่อสังคม “การนำเสนอข่าวและเนื้อหาการเลือกตั้งของฟรีทีวี ‘54” “ภาพวัยรุ่นในสื่อยอดนิยม” “การศึกษาเปรียบเทียบผังรายการฟรีทีวีในไตรมาส 1 และ 3 ของปี 2554” “ความเหลื่อมล้ำทางสังคมที่สะท้อนผ่านฟรีทีวี ในช่วงวิกฤติน้ำท่วม” การศึกษาวิเคราะห์รายการโทรทัศน์ดาวเทียม -เนื้อหาไสยศาสตร์ โหราศาสตร์ -เนื้อหาสุขภาพและความงาม ประเด็นเพศในทีวีดาวเทียม

15 ภาพบรรยากาศการสัมมนารูปแบบรายการ

16 ภาพบรรยากาศงานเสวนาเรื่อง
“บทบาทสื่อมวลชนในพัฒนาคุณภาพประชาธิปไตยและการเลือกตั้ง”

17 รูปธรรมของงานแต่ละส่วน (ต่อ)
ส่วนที่ 2 การศึกษาวิเคราะห์กฎหมายสื่อ โครงสร้างความเป็นเจ้าของและระบบสื่อสารมวลชน “สภาพปัญหากิจการวิทยุ กิจการโทรทัศน์ กิจการโทรคมนาคมกับภารกิจของกสทช.” “คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของสื่อโทรทัศน์เพื่อบริการสาธารณะ” ส่วนที่ 3 การศึกษาวิเคราะห์เนื้อหาสื่อ อย่างสะท้อนให้เห็นความเชื่อมโยงระหว่างผู้ผลิตสื่อ สื่อและผู้รับสื่อที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย “การศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมการรับสื่อของวัยรุ่นต่างกลุ่ม”

18 ภาพบรรยากาศการประชุมวิชาการ

19 โครงสร้างการทำงานของโครงการ
มูลนิธิสื่อมวลชนศึกษา Foundation For Media Literacy ผู้อำนวยการโครงการฯ คณะกรรมการ นโยบาย งานการจัดการ งานวิชาการ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โครงการเสริมสร้างสื่อมวลชนศึกษาเพื่อสุขภาวะ (Media Monitor) คณะกรรมการวิชาการ คณะกรรมการมูลนิธิ คณะทำงานภาคีเครือข่าย ผู้อำนวยการบริหารมูลนิธิ งานศึกษาวิเคราะห์สื่อ งานสื่อและ ภาคีเครือข่าย

20 จุดมุ่งหมายของมูลนิธิและโครงการ
ศึกษาวิเคราะห์โครงสร้าง ระบบ และเนื้อหาที่สื่อมวลชนนำเสนอ รายงานผลการศึกษาต่อสาธารณะและหน่วยงานหรือองค์กรที่เกี่ยวข้อง เสริมสร้างและสนับสนุนให้สื่อมวลชนทำหน้าที่ด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพที่มีมาตรฐาน ด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม กระตุ้นผู้รับสื่อและสังคมให้ตื่นตัว สนใจ ในการศึกษาวิเคราะห์เนื้อหาที่สื่อมวลชนนำเสนอ พัฒนาศักยภาพแห่งความรู้ความเข้าใจสื่อ (Media Literacy) ด้วยผลการศึกษาและการจัด กิจกรรมกับภาคียุทธศาสตร์กลุ่มต่างๆ พัฒนาข้อเสนอต่อแนวทางการปฏิบัติหน้าที่ของสื่อมวลชน (Code of Conduct)

21 จุดมุ่งหมายของมูลนิธิและโครงการ
ส่งเสริม สนับสนุนให้สังคมมีกลไกที่เข้มแข็งและยั่งยืน เพื่อทำหน้าที่ศึกษาวิเคราะห์ ติดตามเฝ้าระวังการทำงานและการนำเสนอเนื้อหาของสื่อมวลชน คุ้มครองผู้บริโภคด้านสื่อมวลชน สร้างสมดุลแห่งความสัมพันธ์อย่างมีคุณภาพและเหมาะสมระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้องกับ การทำหน้าที่ของสื่อมวลชนทุกฝ่าย คือ ภาครัฐ ภาควิชาการ ภาควิชาชีพ สื่อมวลชน ภาคธุรกิจที่เกี่ยวข้อง และภาคสังคมในนามผู้รับสื่อ ดำเนินการและให้ความร่วมมือในกิจกรรมเพื่อสาธารณะประโยชน์ ไม่ดำเนินการเกี่ยวข้องกับการเมือง

22 สรุปบทเรียนการทำงานโครงการ
- ผลงานโครงการเป็นที่รู้จักและยอมรับจากสังคม โดยเฉพาะวงการวิชาชีพและ วิชาการด้านสื่อ - มีการสื่อสารผลการศึกษาและข้อเสนอแนะผ่านสื่อมวลชน สื่อของโครงการ และการสื่อสารตรงกับหน่วยงาน / องค์กรที่เกี่ยวข้อง มีการร่วมงานกับองค์กรสื่อในกิจกรรมการเรียนรู้ และ งานการศึกษาวิเคราะห์สื่อ มีการร่วมงานกับสถาบันการศึกษาในกิจกรรมการเรียนรู้ การพัฒนาหลักสูตร การเรียนการสอน

23 สรุปบทเรียนการทำงานโครงการ (ต่อ)
- มีการขอรับการบริการข้อมูลเพื่อใช้ในการศึกษาวิจัยของผู้ศึกษาระดับอุดมศึกษา - ในช่วงแรกของโครงการมีพื้นที่ในสื่อที่มีการนำเสนอเนื้อหามากกว่าในปีปัจจุบัน - อาจเพราะการปรับเปลี่ยนบทบาทจากการเป็นผู้สร้างวาระในสื่อเป็นผู้ตอบสนองต่อ ประเด็นหรือวาระที่สื่อกำหนด ในเชิงการนำเสนอความเห็นที่มิใช่ผลการศึกษา เสมอไป มีความคิดเห็นต่อกระบวนวิธีวิทยา เมื่อทำงานที่เกี่ยวข้องประเด็นที่เป็นความ ขัดแย้งของกลุ่มทางการเมือง กลุ่มธุรกิจเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

24 สรุปบทเรียนการทำงานโครงการ (ต่อ)
ไม่พบผลในเชิงการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานในงานเนื้อหาสื่อ สื่อมักไม่นำเสนอผลการศึกษา โดยเฉพาะ ในประเด็นที่ไม่อยู่ในความสนใจ และ การมีข้อเสนอต่อการทำงานของสื่อ โครงสร้างการทำงานยังเป็นองค์ประกอบสำคัญในการสนับสนุนทิศทางและ กระบวนการทำงานของโครงการ มีปัญหาในการสรรหา และ การพัฒนาบุคลากรให้มีคุณสมบัติตามลักษณะงาน โครงการและความคาดหวังต่อโครงการ

25 ปีที่ 7 ของโครงการ (พ.ค.2555-เม.ย.2556)
คงการทำงานด้วยจุดมุ่งหมาย โครงสร้าง และ วิธีการ พัฒนาภาคีการทำงาน ให้มีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนกระบวนการทำงาน คือ ริเริ่ม พัฒนา ดำเนินการศึกษาวิเคราะห์ จัดทำรายงาน ขยายผลการศึกษา แผนการทำงานกับภาคี เช่น กับ FES ในประเด็น “ฟรีทีวีกับการทำหน้าที่ Civic Education” กับ ส.ค.ส. ในประเด็น “การพัฒนาเครื่องมือและการตรวจสอบระดับความรุนแรง ทางเพศ ที่ปรากฎในสื่อมวลชน” กับ คณะกรรมการขับเคลื่อนการจัดการปัญหาโฆษณา ยา อาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดกฎหมาย.เพื่อ “พัฒนาเครื่องมือการตรวจสอบสื่อ ควบคู่กับการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัคร เฝ้าระวังการโฆษณา ยา อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดกฎหมายทางสื่อ” กับ นักวิชาการสื่อสารมวลชน “ เพื่อศึกษา การทำหน้าที่ของสื่อในสถานการณ์และเหตุการณ์ภับพิบัติ “ ฯลฯ

26 การทำงานในช่วง พ.ค. ปีนี้ถึงวันนี้
SMS กับ การแข่งขันบอลยูโร ทีวีการเมือง ในสถานการณ์ความขัดแย้ง กรณีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2550\

27 อำนาจทาง เศรษฐกิจ การเมือง
ภาพอนาคตที่ปรารถนาของสื่อ-สังคม-การเฝ้าระวังสื่อ อำนาจทาง เศรษฐกิจ การเมือง ข้อเสนอจากภาคประชาสังคม Lobby feedback loop รัฐบาล ภาคประชาสังคม ข้อเสนอองค์กรภาคธุรกิจโฆษณา Lobby feedback loop องค์กรอิสระที่ดูแล กำกับสื่อ (Regulators) สถาบันการศึกษา องค์กรภาค ธุรกิจโฆษณา องค์กรสื่อ Media monitoring feedback loop ผลตอบกลับจากองค์กรตรวจสอบและเฝ้าระวังสื่อ ข้อเสนอแนะ -ปฏิกิริยาจากภาคประชาชน citizens feedback loop องค์กรผู้ตรวจสอบ และเฝ้าระวังสื่อมวลชน ผลตอบกลับจากผู้รับสาร ผลตอบกลับจากผู้รับสาร /ผู้บริโภคสื่อ Audience feedback loop ประชาชน Consumer feedback loop


ดาวน์โหลด ppt นำเสนอในงานเปิดตัว Media Inside Out Group 14 กรกฎาคม 2555.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google