Change Management.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
หน้าที่ของผู้บริหาร.
ความเดิมจากตอนที่แล้ว
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
The Power of Communication
การบริหารกลุ่มและทีม
Strategic Management ผศ.กันธิชา ทองพูล.
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน
การวางแผนกลยุทธ์.
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
การจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
องค์การและการบริหาร Organization & Management
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การประเมินคุณภาพภายนอก ระดับอุดมศึกษา รอบที่3
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
KM เรื่อง “การบริหารความเสี่ยง” ส่วนบริหารการจัดเก็บภาษี
นโยบายองค์การ Organisation Policy.
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
ผู้นำกับประสิทธิภาพในการทำงาน
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
เครื่องมือและเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
(Organizational Behaviors)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
หลักการ และเทคนิควิธีการกำหนด แผนปฏิบัติราชการสำนักงานยุติธรรมจังหวัด
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การบริหารและกระบวนการวางแผน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
SWOT.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
บทที่ 3 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการตลาด
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Change Management

ประเภทของการเปลี่ยนแปลง ประเภทของการเปลี่ยนแปลง (The Nature of Change) นั้นขึ้นอยู่กับอัตราการเปลี่ยนแปลง ซึ่ง Grundy ได้แบ่งการเปลี่ยนแปลงออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. Smooth Incremental Change 2. Bumpy Incremental Change 3. Discontinuous Change www.themegallery.com

ประเภทของการเปลี่ยนแปลง www.themegallery.com

ปัจจัยของแรงกระตุ้นที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง คำว่า “การเปลี่ยนแปลง” หมายถึง กระบวนการหรือการกระทำที่ต่างไปจากเดิม ซึ่งเกิดจากการปรับตัวขององค์การเพื่อการดำรงอยู่ในโลกธุรกิจ อาทิ สิ่งแวดล้อมใหม่ที่เกิดขึ้นในองค์การ ความรับผิดชอบต่อสังคม วัฒนธรรมขององค์การ ปริมาณการผลิต ตลอดจนการเข้าสู่ยุคข้อมูลข่าวสาร การเปลี่ยนแปลงขององค์การสามารถแบ่งปัจจัยของแรงกระตุ้นที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้ 2 ประเภท 1. ปัจจัยภายนอก 2. ปัจจัยภายในองค์การ www.themegallery.com

ปัจจัยภายนอก แรงกระตุ้นต่อการเปลี่ยนแปลงขององค์การนั้น สามารถแบ่งได้จากการจัดหมวดหมู่ของ PEST Analysis Model ซึ่งประกอบด้วย สภาพแวดล้อมทางสังคม (Social Environment) เศรษฐกิจ (Economical Environment) การเมือง (Political Environment) ถึงเทคโนโลยี (Technological Environment) www.themegallery.com

ปัจจัยภายในองค์การ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1) Formal Subsystem ประกอบด้วย การบริหาร การจัดการการผลิต เป้าหมายขององค์การ กลยุทธ์การบริหาร โครงสร้างขององค์การ และเทคโนโลยีที่ใช้ในองค์การ 2) Informal Subsystem ประกอบด้วย วัฒนธรรมองค์การ การเมืองในองค์การ รวมถึงภาวะความเป็นผู้นำ ตัวอย่างปัจจัยภายในองค์การที่กระทบต่อการเปลี่ยนแปลงอื่นๆ ในองค์การ www.themegallery.com

ปัจจัยภายในองค์การ 1) Formal Subsystem ประกอบด้วย การบริหาร การจัดการการผลิต เป้าหมายขององค์การ กลยุทธ์ โครงสร้างขององค์การ เทคโนโลยีที่ใช้ในองค์การ www.themegallery.com

ปัจจัยภายในองค์การ 1) Informal Subsystem ประกอบด้วย วัฒนธรรมองค์การ การเมืองในองค์การ บุคลากรในองค์การ www.themegallery.com

ปัจจัยภายในองค์การ www.themegallery.com

การต่อต้านการเปลี่ยนแปลง เหตุผลในการต่อต้าน การเปลี่ยนแปลงทำให้เกิดความเสี่ยงและภัยคุกคามต่อผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง เพราะสมาชิกในองค์การต้องเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เคยชิน ส่งผลให้เกิดความไม่พอใจจึงเกิดการต่อต้านขึ้น โดยการต่อต้านจะมีหลายสาเหตุ ได้แก่ การต่อต้านผลที่เกิดขึ้น การขาดแคลนข้อมูล ความไม่ไว้ใจ ความเฉื่อยชา การรับรู้ การรับรู้ของแต่ละบุคคลจะมีความแตกต่างกัน มองเห็นจุดอ่อนหรือข้อบกพร่องของแผนการเปลี่ยนแปลง ความไม่แน่นอน เกิดจากการขาดความเข้าใจและความมั่นใจ สาเหตุส่วนบุคคล www.themegallery.com

การเผชิญกับการเปลี่ยนแปลง การวิเคราะห์กับการเปลี่ยนแปลงโดยใช้หลักการของความสมดุล คือ สถานการณ์ที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและปัจจัยที่ต่อต้านการเปลี่ยนแปลงนั้นมีความสัมพันธ์กัน การสื่อสาร (Communication) การส่งเสริมให้มีส่วนร่วม (Paticipation) การอำนวยความสะดวกและเป็นผู้ให้การสนับสนุน (Facilitation and Support) การเจรจาต่อรอง (Negotiation) การแทรกแซง (Manipulation) การใช้การบังคับ (Coercion) www.themegallery.com

การประเมินผลการเปลี่ยนแปลง การรวบรวมข้อมูลสามารถทำได้ 2 วิธี คือ เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารในการนำแผนไปปฏิบัติ การเก็บรวบรวมข้อมูลนั้นจะต้องเลือกวิธีการที่เหมาะสมกับสถานการณ์ การเก็บข้อมูลได้มากขึ้นจะทำให้การวิเคราะห์มีความถูกต้องมากขึ้น เปรียบเทียบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับเป้าหมาย เพื่อประเมินว่าผลการทำงานที่เกิดขึ้นสามารถบรรลุเป้าหมายที่ต้องการหรือไม่ ทบทวนผลที่เกิดขึ้น เป็นการประเมินผลลัพธ์ (Outcome) ของการเปลี่ยนแปลงและสื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องและได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงรับทราบ ซึ่งมีหลายวิธีการในการสื่อสารให้ผู้บังคับบัญชาและลูกน้องรับทราบคือ เขียนรายงาน รายงานโดยคำพูด อภิปรายกลุ่ม www.themegallery.com

สิ่งที่ควรคำนึงถึงเพื่อให้การเปลี่ยนแปลงเป็นไปอย่างราบรื่น การเรียนรู้ขององค์การ ความร่วมมือ และ Team-Working แรงจูงใจ ภาวะความเป็นผู้นำ (Leadership) การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ www.themegallery.com

จบการนำเสนอ