นางสาวกาญจนา เลิศรุ่งรัศมี การบริหารความเสี่ยงภาคธุรกิจ การศึกษาเอกชน ประเภทอาชีวศึกษา กรุงเทพมหานคร นางสาวกาญจนา เลิศรุ่งรัศมี สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ปัญหาการวิจัย 1.นโยบายการรับนักเรียนภาครัฐ 2.กฎระเบียบต่างๆจำนวนมาก 3.ฐานะครอบครัว นร. 4.การสนับสนุนจากภาครัฐมีน้อย 5.การเข้า/ออกบุคลากร 6.คู่แข่งขันธุรกิจ
วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาปัจจัยความเสี่ยงธุรกิจการศึกษาภาคเอกชน ประเภทอาชีวศึกษา 2.เพื่อวิเคราะห์การบริหารความเสี่ยงธุรกิจการศึกษาเอกชน ประเภทอาชีวศึกษา กรุงเทพมหานคร ระดับภาพรวม
ข้อมูลสถานภาพผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางสรุปผลสำคัญ ข้อมูลสถานภาพผู้ตอบแบบสอบถาม ผลสรุป/ร้อยละ 1.เพศ เพศชาย 53 คนคิดเป็นร้อยละ 55.20 เพศหญิง 43 คนคิดเป็นร้อยละ 44.79 2.ประสบการณ์การทำงาน ประสบการณ์ทำงานตั้งแต่ 11 ปีขึ้นไป 50 คนคิดเป็นร้อยละ 52.08 3.ตำแหน่งหน้าที่ เจ้าของกิจการ/ผู้รับใบอนุญาต 50 คนคิดเป็นร้อยละ 52.08 4.ประเภทสถานศึกษา เปิดสอนระดับ ปวช.-ปวส. 90 แห่งคิดเป็นร้อยละ 93.75 5.ขนาดสถานศึกษา สถานศึกษาขนาดกลาง (มี นร.1,001-2,000 คน) จำนวน 60 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 62.50 6.อายุก่อตั้ง ตั้งแต่ 16 ปีขึ้นไป จำนวน 31 แห่งคิดเป็นร้อยละ 32.29 7.จำนวนบุคลากร ตั้งแต่ 51-70 คน จำนวน 50 แห่งคิดเป็นร้อยละ 52.08
ตารางสรุปผลสำคัญ ภาพรวมทุกด้าน 4.09 การบริหารความเสี่ยง ค่าเฉลี่ย ระดับการปฏิบัติ 1.การบริหารความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ 4.03 ระดับมาก 2.การบริหารความเสี่ยงด้านประสิทธิภาพ/ประสิทธิผลในการดำเนินงาน 4.20 3.การบริหารความเสี่ยงด้านการเงิน 3.90 4.การบริหารความเสี่ยงด้านกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง 4.00 ภาพรวมทุกด้าน 4.09
สรุปผลการวิจัย 1.เพื่อศึกษาปัจจัยความเสี่ยงธุรกิจการศึกษาภาคเอกชน ประเภทอาชีวศึกษา สรุปได้ว่า การบริหารความเสี่ยงภาคธุรกิจการศึกษาเอกชน ประเภทอาชีวศึกษา กรุงเทพมหานคร พบว่า มีปัจจัยความเสี่ยง 4 ด้านได้แก่ ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ความเสี่ยงด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผลการดำเนินงาน ความเสี่ยงด้านการเงิน ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย 2.เพื่อวิเคราะห์การบริหารความเสี่ยงธุรกิจการศึกษาเอกชน ประเภทอาชีวศึกษา กรุงเทพมหานคร ระดับภาพรวม สรุปได้ว่า การบริหารความเสี่ยงภาคธุรกิจการศึกษาเอกชน ประเภทอาชีวศึกษา กรุงเทพมหานคร พบว่า ความเสี่ยงด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดำเนินงานสำคัญมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.20
ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาวิจัย 1.ธุรกิจการศึกษาเอกชน สามารถรับมือและรู้เท่าทันความเสี่ยงในด้านต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตข้างหน้าได้เป็นอย่างดี 2.ธุรกิจการศึกษาเอกชน สามารถวางแผน นโยบาย กลยุทธ์ในการพัฒนาให้ทันยุคโลกาภิวัตน์ได้ 3.สามารถยอมรับกับความเสี่ยงได้มากขึ้นและใช้ประโยชน์จากการยอมรับในทุก ๆ ด้านได้เป็นอย่างดี