ผู้วิจัย นางวรรณา อนะมาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นางณัฐฐินี ฉิมแย้ม ผู้วิจัย
Advertisements

ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส

คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวชิราโปลีสงขลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
ผลการพัฒนาวิธีการสอนโดยใช้แผนผัง ความคิด วิชา ครอบครัวศึกษาและความปลอดภัย ในชีวิต ( ) เรื่อง ความปลอดภัยในการใช้ยา ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตร.
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้

ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
งานวิจัย เรื่อง การฝึกทักษะ 5 ประการที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ประยุกต์ 1 เรื่องระบบจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม ของนักเรียนชั้น ปวช.
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาเครื่องกลไฟฟ้า 1 ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้น ปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนการ สอน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ผลงานวิจัย โดย อ. หัสยา วงค์วัน
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
เรื่อง การใช้เกมพัฒนาทักษะการเขียนคำภาษาไทย ของนักเรียนระดับชั้น ปวช
นางสาววราภรณ์ ว่องนัยรัตน์ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยใช้ชุดการสอน ในรายวิชาสุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก ผู้วิจัย อาจารย์ปนัดดา วรกานต์ทิ
นางวลัยกร แสงเสริม โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผู้วิจัย นางสาวนิตญา จุทาชื่น วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย จุฬารัตน์ มหาชัย
นายทัศนชัย เหน็บบัว โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
โดย นางกุหลาบ พรหมจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ ชื่อเรื่อง : การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ภาษาไทยของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยี
เทคโนโลยีสื่อประสมสอน ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ นายชูชีพ ขาวเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีนีร ชาบริหารธุรกิจ.
ชื่อเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบเกมวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ที่ได้รับการสอนแบบ.
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
Subtitle Goes Hre PBL Problem Based Student Centered Small Group.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้วิจัย นางวรรณา อนะมาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน เรื่อง “การสอนซ่อมเสริมเรื่องการบวก ลบ เศษส่วนของนักศึกษาระดับ ปวช. 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน รายวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 โดยแบบฝึกหัดเฉพาะเรื่อง” ผู้วิจัย นางวรรณา อนะมาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน

ปัญหาการวิจัย ในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักศึกษาระดับปวช.1 เกี่ยวกับ การบวก ลบ เศษส่วน ซึ่งจัดเป็นพื้นฐานเบื้องต้น จากการทดสอบ ปรากฏว่า นักศึกษาไม่สามารถบวก ลบ เศษส่วนคิดเป็นร้อยละ 50 ของนักศึกษาที่ทำการ ทดสอบ จากการตรวจแบบทดสอบ และจำแนกข้อผิดพลาดได้หลายประการ ทดสอบจากการตรวจแบบทดสอบ และจำแนกข้อผิดพลาดได้หลายประการ เช่น 1.บวกลบเศษส่วนทั้งที่ส่วนไม่เท่ากัน 2.นำจำนวนคูณเศษแต่ไม่คูณส่วน เป็นต้น เมื่อพิจารณาจากปัญหาต่างๆ พบว่านักศึกษาขาดทักษะในการคิด การคำนวณ ไม่ทราบสูตรคูณ ไม่ทราบกฎเกณท์ การบวก ลบ เศษส่วน จึงทำให้เรียนรู้ ได้ช้า ทำแบบฝึกหัดไม่ได้ จึงเกิดปัญหาลอกกัน เป็นปัญหาต่อการเรียน คณิตศาสตร์เรื่องอื่นๆ ต่อไป

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อพัฒนาแบบฝึกหัดเฉพาะเรื่องเพื่อสอนซ่อมเสริม 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ชั้น ปวช. 1 ด้วยแบบฝึกทักษะเฉพาะเรื่อง การบวก ลบ เศษส่วน 3. เพื่อวัดเจตนคติของนักศึกษาต่อวิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้แบบฝึกหัด เฉพาะเรื่อง

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ของนักศึกษา ระดับชั้นปวช.1/4 ทดสอบความแตกต่างของคะแนนสอบระหว่างก่อนและหลังการทดสอบโดยใช้สถิติ t-test แบบ dependent samples’ ตารางที่ 1.1 แสดงค่ามัชฌิมเลขคณิต ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และหาค่า t จำนวน 40 คน ตารางที่ 1.1 คะแนน N S.D. t ก่อนเรียน 40 9.37 2.48 3.15 หลังเรียน 20.30 3.45 จากตารางที่ 1.1 แสดงให้เห็นว่าค่ามัชฌิมเลขคณิตของผลลัพธ์ก่อนเรียนได้เท่ากับ 9.37 และหลังเรียนได้เท่ากับ 20.30 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานก่อนเรียนเท่ากับ 2.48 และหลังเรียนเท่ากับ 3.45 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนซ่อมเสริมวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เรื่องการบวกลบเศษส่วน หลังเรียนด้วยแบบฝึกหัด เฉพาะเรื่องสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

ตารางที่ 2.1 ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์เจตนคติของนักศึกษาที่มีต่อวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1/4 ที่ใช้แบบทดสอบหลังเรียนโดยใช้แบบฝึกหัดเฉพาะเรื่อง ตารางที่ 2.1 แสดงค่ามัชฌิมเลขคณิต ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และความหมายของเจตนคติของนักศึกษา ที่มีต่อวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ของนักศึกษา 1/4 ข้อความ S.D. ความหมาย 1.วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เป็นวิชาที่น่าสนใจ 3.50 2.87 ดีมาก 2.นักเรียนส่วนใหญ่ชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 3.56 2.79 3.วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 4.50 0.50 ดีมากที่สุด 4.เป็นความเชื่อแต่เดิมว่าวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เป็นวิชาที่ยาก 3.66 2.66 5.วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เป็นวิชาที่เรียนเข้าใจยาก 3.63 2.70 6.ผู้สอนวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ส่วนใหญ่เข้มงวดในการเรียนการสอน 4.03 2.06 7.แบบฝึกหัดในวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เข้าใจยาก 4.00 2.12 8.พื้นฐานในการเรียนคณิตศาสตร์ไม่ดีพอ 3.76 2.52 9.ผู้สอนวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 สอนได้สนุกน่าสนใจ 3.83 2.41 10.ผู้เรียนขาดความเชื่อมั่นในการนำข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 2.83 3.53 รวม 3.73

สรุปผลการวิจัย 1. ได้พัฒนาแบบฝึกหัดเฉพาะเรื่องเพื่อสอนซ่อมเสริม 2. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้แบบฝึกหัดเฉพาะเรื่องหลังการเรียน สูงกว่าก่อน การเรียนอย่างมีนัย สำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 เป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ 3. นักศึกษามีเจตนคติต่อ วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ หลังจากเรียนแบบฝึกหัดเฉพาะเรื่องอยู่ในระดับที่ดีมาก คือมีเจตนคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ หลังจากเรียนดีขึ้น ( > 3.5)

กิจกรรม

กิจกรรม