อนิเมชั่น Animation ดร.สุรพล บุญลือ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สตอรี่บอร์ด (Story board)
Advertisements

การ อบรม โครงการพัฒนาระบบ สารสนเทศชุมชนภายใต้ โครงการจัดตั้งศูนย์การ เรียนรู้ ICT ชุมชน.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานกราฟิก
อาจารย์เอกนฤน บางท่าไม้ ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา
ประโยชน์ของ เครื่องโปรเจคเตอร์
Chapter 6 : Video.
Fast Page Mode DRAM (FPM DRAM) AND Extended-Data Output (EDO) DRAM
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ ม. 3
สื่อคุณค่าพระวรสาร กราฟิกเบื้องต้น วิชาคอมพิวเตอร์ ม.1.
กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
เปิดโลกนอกกะลา.
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
การสร้างสื่อมัลติมีเดีย
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสื่อประสม
องค์ประกอบ และ ประโยชน์ของมัลติมีเดีย
องค์ประกอบ e-Learning และ WBI
Chapter 4 : Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
Multimedia การบรรยายทางวิชาการ เรื่อง
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
ระบบกลไก.
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การผลิตภาพยนตร์ การฝึกอบรมหลักสูตรภาคปฏิบัติ ปี 2552
โปรแกรม SwishMAX.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
วิวัฒนาการประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิกส์
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
ทบทวนการออกแบบสื่อ multimedia Powerpoint Templates.
นางสาวอรปรียา พ่างจันทร์ เลขที่ 26
Background / Story Board / Character
Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
ประเภทของแอนิเมชั่นใน Flash
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
การผลิตวีดิทัศน์เพื่อการศึกษา Video Production for Education รหัสวิชา:
การสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วย
ความหมายของแอนิเมชัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การนำเสนองาน.
การจัดการเรียนรู้โดยการใช้แผ่นพับ
การถ่ายวีดีโอ.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
BSRU Animation STUDIOS
ครูสุนิสา เมืองมาน้อย
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การอ่านเชิงวิเคราะห์
ปัจจัยสำคัญของภาพยนตร์
บทที่8 การเขียน Storyboard.
08:30-08:45 ตัวแทนโรงเรียนกล่าวเปิดการอบรม แนะนำ วิทยากร วิดีโอ “ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21” กิจกรรมสันทนาการ 09:00-09:40 แผนที่ชุมชน.
การสร้างสรรค์บทละคร.
ขั้นตอนในการผลิตรายการวีดิทัศน์
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการโปรแกรมคอมพิวเตอร์
อนิเมชั่น Animation สุรพล บุญลือ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
กระบวนการในการผลิต.
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
เทคนิคการเปลี่ยนภาพ โดยใช้อุปกรณ์ตัดต่อ วีดีทัศน์.
การออกแบบ Presentation อย่างมืออาชีพ
ระบบ 3.9G จัดทำโดย นางสาวพนิดาเรืองบุญญา ม.5/6 เลขที่ 2.
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
จัดทำโดย.... นางสาววริศรา ทาวรรณ์ เลขที่ 35 ชั้น ม.4/13
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
โลกเสมือนจริง วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
บทที่ 9 แอนิเมชั่น Animation อ.ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล
Animation update.
Animation.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อนิเมชั่น Animation ดร.สุรพล บุญลือ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

Animation เกิดขึ้นจากการแสดงภาพอย่างเร็ว ของชุดภาพนิ่งแบบสองมิติ(2D) หรือ เกิดจากการเปลี่ยนตำแหน่งของวัตถุ ที่เราอยากให้เคลื่อนที่ โดยใช้หลักภาพลวงตา ให้ดูเหมือนว่าภาพนิ่งเหล่านั้น มีการเคลื่อนไหว จากหลักการมองเห็นภาพติดตาของคนเรานั่นเองครับ โดย Animation เกิดจากหลายองค์ประกอบรวมตัวกัน โดยหนึ่งในหัวใจของ Animation นั้น คือการ animate  

animate & Animator การ animate คือการใส่การเคลื่อนไหว ให้ชีวิต กับสิ่งต่างๆ ที่ยังไม่มีการเคลื่อนไหว หรือภาพนิ่ง Still animate แปลว่าทำให้มีชีวิต ดังนั้น Animator คือผู้ให้ชีวิตนั่นเอง Animation นั้น มีด้วยกันหลายประเภท พอจะแบ่งแยกออกได้เป็น 3 ยุคสมัย ได้แก่

ยุคที่ 1 Traditional Animation Hand Drawing Animation / 2D Animation : เป็นงานแอนิเมชั่นสมัยแรกเริ่ม มักจะใช้การวาดด้วยมือ งานประเภทนี้ พบเห็นได้ทั่วไป ในการทำ Animation ยุคแรกๆ โดยใช้เทคนิคการวาดด้วยมือ ทีละแผ่น แล้วใช้วิธี Flip เพื่อตรวจดูท่าทางของตัวละครที่เราได้ทำการ animate ไปแล้ว หรือที่เราเรียกกันว่า In Between (IB) โดยทั่วไปแล้ว ในงาน Animation แบบนี้ ถ้าเป็นงาน Animation จากฝั่งตะวันตก หรือ เป็นหนังโรง จะกำหนดให้ 1 วินาที ใช้รูป 24 เฟรม แต่ถ้าเป็นพวกซีรี่ย์การ์ตูนญี่ปุ่น จะกำหนดไว้ที่ 1 วินาที ใช้รูป 12 เฟรม หรือ อาจมากกว่านั้น

ยุคที่ 2 Stop-motionหรือ Clay Animation งานแอนิเมชั่นประเภทนี้ animator จะต้องเข้าไปทำการเคลื่อนไหวโดยตรงกับโมเดล และทำการถ่ายภาพเอาไว้ทีละเฟรมๆ การทำ Stop Motion ถือเป็นเรื่องยากพอสมควร เพราะ ต้องแม่นในเรื่องของ Timing และ Pose มากๆ แม้การทำจะไม่ต้องอาศัยการวาดรูปเป็นหลัก แต่ก็ต้องทำ IB เองทั้งหมดด้วยมือ การทำ IB ในงาน Animation ประเภทนี้ ต้องอาศัยความชำนาญในการคำนวนล่วงหน้า เพราะ ถึงแม้จะมีอุปกรณ์ต่างๆ ช่วยในการ Flip แล้วก็ตาม ( เช่น โปรแกรมต่างๆ ที่ช่วยในการ Capture รูป แล้ว Play ดูได้ทันที ) แต่การจัดแสง และการควบคุมความต่อเนื่องระหว่างเฟรม ต้องอาศัยความรอบคอบ และความอดทนสูงมาก

ยุคที่ 3. Computer Animation / 2D Animation on computer / 3D Animation Animator ในงานประเภทนี้ จึงมีเกิดขึ้นมาในยุคปัจจุบันอย่างมากมาย พร้อมด้วยความต้องการ ของวงการบันเทิงในยุคนี้ ที่เน้นการทำ CG Animation มากขึ้น ดูได้จากเมืองไทย ที่มีสถาบันสอนการทำ Animation เกิดขึ้นอย่างมากมาย และ Studio ที่ทำงาน Animation ในบ้านเราก็มีมากขึ้น เราจะเห็นได้ว่า งานต่างๆในวงการบันเทิงไทย ไม่ว่าจะเป็นภาพยนตร์ ภาพยนตร์โฆษณา การ์ตูนซีรี่ย์ ต่างๆ ล้วนล้วนแต่ มีงาน CG Animation แฝงอยู่ด้วยแทบทั้งนั้น เรียกได้ว่า เมืองไทยตอนนี้ มีความตื่นตัวในกระแส Animation เป็นอย่างมากเลยทีเดียว

ประเภทของStop Motion 1 ดินน้ำมัน clay animation 2 หุ่น Doll-Puppet animation 3.การเขียน-วาด Write animation 4.ชิ้นงาน Model animation 5 ทราย sand animation 6.งานกระดาษ Paper animation 7.Time Lapse

อุปกรณ์ที่ใช้ในงาน Stop Motion 1 ชิ้นงาน 2 กล้องถ่ายภาพ – วีดิทัศน์ ขาตั้งกล้อง 3 คอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ 4 ฉาก 5 ไฟแสงสว่าง 6 แท่นยึด

ขั้นตอน Pre-Production เตรียมงาน เขียนสคริปต์ ปั้น Production เตรียมงาน เขียนสคริปต์ ปั้น Production ถ่ายทำ กำกับกล้อง ปั้น ขยับ Post-Production ตัดต่อ import ตัด พากย์เสียง Presentation นำเสนอ แปลงไฟล์

ข้อคำนึง TV NTSC = 30 frame/sec Film = 24 frame/sec TV Pal = 25 frame/sec 720x576 pixel 5 Min = 25x60 x 5 =7500 Frame

บท 1 Idea Plot Gag 2 Script Theme Concept 3 Story Board Key frame 4 Detail รายละเอียด 5 Specification ข้อกำหนด

การเขียนบท 1 Premise แนวคิดหลักของเรื่อง เรื่องของสัตว์ที่ออกมาต่อสู้เพื่อความอยู่รอดของมัน 2 Log-Line ขยายความ สั้น ได้ใจความ เมื่อมนุษย์ต่างสรรหา อาหารใหม่ๆ รสชาติแปลกๆ สัตว์ทั้งหลายจึงหนีไม่พ้นที่จะตกเป็นอาหารของมนุษย์ การต่อสู้เท่านั้น ที่จะยุติมนุษย์ผู้หิวกระหายได้ 3 Synopsis เรื่องย่อ 4 Treatment 4W1H

การเขียนบท Hollywood 1 เปิดฉากต้อง ตรึงใจ ท้าทาย มีคำถามให้ค้นหา 2 แนะนำตัวละคร 3 เน้นความขัดแย้ง 4 หาจุดสำคัญของเรื่อง 5 จบประทับใจ

การสร้างตัวละคร 1 รู้จักตัวละครให้ดี อย่าสับสน 2 สร้างภาพ อย่าใช้เสียงบรรยาย 3 ให้คนดูคิดบ้าง อย่าบอกหมด 4 คนต่างกัน สื่อสารไม่เหมือนกัน 5 ถ้อยคำ ประจำ กินใจ 6 อย่าพูดซ้ำซาก วกวน ไม่ไปไหนซะที 7 พูดสั้นๆ เดินเรื่องไว

ขนาดจอ กับ Format วีดิทัศน์ Cinema Scope 2.35:1 Wide-screen Motion Pictures 1.85:1 HDTV 16/9 =1.78 Film 3/5 4x3 = 1.33 Motion Pictures before 1953

Aspect Ratio

STOP Motion Instant Time Real Time

STOP Motion Instant Time Real Time

Setting

Shooting 1

Shooting 2

In Door

Out Door

มุม ในการถ่ายภาพ มุมต่ำ Low Angle ระดับสายตา Eye Level มุมสูง Hi Angle

ขนาดภาพ ELS LS MS CU ECU

กระบวนการในการตัดต่อ Import Edit ภาพ เสียง กราฟิก อื่น Export

ตัดต่อโดย Movie Maker After Effect Premiere Other..

การนำเสนอ ทุกอย่างต้องพร้อม ไม่มีข้อผิดพลาด แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า มีการประเมินผล

อ้างอิง The Principles of Animation จรูญพร ปรปักษ์ประลัย : 2548 สวัสดีอนิเมชั่น Clay Animation Workshop BIFF 2007 Assoc Prof Takuya Ishida: 2007 Clay Animation The Principles of Animation