ระบบการจัดระดับความเหมาะสมของเกมคอมพิวเตอร์ อ.อิทธิพล ปรีติประสงค์ สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ม.มหิดล โครงการวิจัยและพัฒนาระบบการจัดระดับความเหมาะสมของสื่อ ได้รับการสนุบสนุนจาก กระทรวงวัฒนธรรม
ระบบและเกณฑ์ในการจัดระดับความเหมาะสมของเกมคอมพิวเตอร์ ระบบการประเมินคุณภาพเชิงสร้างสรรค์ สร้างเสริมระบบคิด วิชาการ คุณธรรม จริยธรรม ทักษะชีวิต ความหหลากหลาย ครอบครัว -๔ ระบบการจำแนกเนื้อหาตามช่วงอายุของผู้เล่น พฤติกรรม เลือด ภาษา เพศ +๒ ระบบการสร้างคุณค่าของสังคมในเกม การดูแลชุมชนในเกม การสร้างกิจกรรมสร้างสรรค์นอกเกม +๒ -๔ +๖ ระบบการส่งแสริม ระบบการเลือกเกม ระบบการส่งเสริม
-๔ พฤติกรรม ความรุนแรง ภาษา เพศ เลือด การทำให้ตกใจกลัว น่าสะพรึงกลัว โดยไม่เกี่ยวข้องกับการใช้ความรุนแรง การทำร้าย เช่น การทำร้ายตนเอง ผู้อื่น สิ่งของ การใช้อาวุธ การดัดแปลงอาวุธ การกระทำที่ผิดกฎหมายแต่ไม่ใช้ความรุนแรง เช่น ยาเสพติด การพนัน การแสดงพื้นที่หรือเหตุการณ์ที่อันตรายร้ายแรง การนำเสนอที่ก่อหรือชักนำให้เกิดการอคติ การเลือกปฏิบัติอันนำมาซึ่งการต่อต้านหรือ ล่วงละเมิดบุคคลหรือกลุ่มบุคคล ภาษา การใช้ภาษาหยาบคาย ก้าวร้าว การสนทนาหรือใช้คำพูดเกี่ยวกับเนื้อหาทางเพศที่ล่อแหลมหรือไม่เหมาะสม การใช้ภาษาที่ผิดหลักไวยากรณ์ ภาษาแสลง -๔ เพศ การแต่งกายของตัวละครในเกม สัมพันภาพทางเพศของตัวละคร และเนื้อเรื่องในเกม วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ เลือด ของเลือด สี ปริมาณ บริเวณของร่างกายที่เลือดไหลม
แนวทางการจัดระดับความเหมาะสมของเกมคอมพิวเตอร์ + 6 ระดับความเหมาะสม พฤติกรรม เลือด เพศ ภาษา 3 + ไม่มี (๐) 6 + น้อย (๑) ทั่วไป 13+ กลาง (๒) 15+ 18+ มาก (๓) 20+ คุณค่าสังคมในเกม พิจารณาจากต้นทางจากผู้พัฒนาเกม
โครงสร้างของการตรวจพิจารณาระบบเรตติ้งเกมคอมพิวเตอร์ Pre Rate คณะอนุกรรมการจัดระดับความเหมาะสมของเกมคอมพิวเตอร์ กระทรวงวัฒนธรรม องค์ประกอบ ภาคนโยบาย ภาคผู้ประกอบการเกม ภาควิชาชีพผู้ผลิตเกม ร้านเกม ภาควิชาการ ภาคประชาชน (เด็ก เยาวชน ครอบครัว ครู) เกมมาสเตอร์ Post Rate คณะกรรมการกลางภาคประชาชน การจัดระดับความเหมาะสมของเกมคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบ : เครือข่ายเด็ก เยาวชน ครอบครัว พ่อแม่ ครู ชุมชนคนเล่นเกม เกมมาสเตอร์ ผู้ประกอบการเกม ประชุมเพื่อพัฒนาคู่มือในการจัดระดับความเหมาะสม และ จัดทำข้อมูลเผยแพร่