การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานนำเสนองานวิจัย. เรื่อง พฤติกรรมการใช้จ่าย. ของประชาชนในเขตชุมชน
Advertisements

เรื่องการสร้างงานนำเสนอด้วยโปรแกรมPorer point2007
ICT & LEARN.
Proprietary and Confidential © Astadia, Inc. | 1.
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System ผู้จัดทำ
Accessing Web Application Data at Any Time 1. 2 อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ผศ. กานดา สายแก้ว อาจารย์ผู้ร่วมประเมินโครงการ ผศ. อนัตต์ เจ่าสกุล รศ. วนิดา แก่นอากาศ.
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
แผนการสอน วิชา Database Design and Development
Graduate School Khon Kaen University
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
Accessing Web Application Data at Any Time
ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
ตัวอย่างการเขียน ในบทที่ 5.
ระหว่างวันที่ กรกฎาคม 2554 โรงเรียนตากพิทยาคม
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
หลักการพัฒนา หลักสูตร
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
เรื่องการสร้างงานนำเสนอด้วยโปรแกรมPorer point2007
หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศการศึกษา ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ระบบข้อสอบออนไลน์.
Management Information Systems
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทติวเตอร์ Tutorial.
งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
บทที่ 8 ระบบบัญชีสินทรัพย์ถาวร
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การศึกษาความพึงพอใจของ
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
ทบทวนการออกแบบสื่อ multimedia Powerpoint Templates.
วิชาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา โดย นางสาวเพลินจิตร์ กันหาป้อง
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
Moodle Modular Object Oriented Dynamic Learning Environment
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
ผู้วิจัย : นายอธิชาติ ไชยาแจ่ม
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ฟังก์ชัน นางสาวอรชุมา บุญไกร โรงเรียนสิชลคุณาธาร วิทยา.
ผู้วิจัย อาจารย์กัมพล ติปิน วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
ระบบบริหารการเรียนการสอน บนเครือข่าย:LMS
ADDIE Model.

การฝึกงาน รายวิชาในกลุ่มวิชาเอกบังคับของหลักสูตรระดับปริญญาตรี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา การฝึกปฏิบัติงานจริง จะทำให้นิสิตได้มีโอกาสเรียนรู้ประสบการณ์
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้

ความหมาย รูปแบบหนึ่งของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่ง มีการออกแบบบทเรียน โดยมีเป้าหมายที่จะเสนอ ข้อคำถามในรูปแบบต่าง ๆเพื่อให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
----- ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาสื่อการ์ตูนมัลติมีเดียสำหรับการสอนวิชา SPSS ชื่อผู้วิจัย นางเขมิกา ภาคเกษี สังกัดวิทยาลัย.
ใช้เกมพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
โครงการเทคนิคและเทคโนโลยีสนับสนุนงานตรวจสอบ “Risk & Control” จัดโดย สำนักงานตรวจสอบภายใน จุฬาฯ วันที่ 22 กรกฎาคม 2553.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning Development of Programming Lesson by e-Learning จิตติญาดา พุกกะมาน นิตินัย ไพศาลพยัคฆ์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสยาม

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เวลาเรียนในห้อง 5 คาบ/สัปดาห์ จำนวนนักศึกษาในชั้นเรียน พบข้อผิดพลาดของโปรแกรม ปฏิบัติตามไม่ทัน Programming

แนวความคิด ILIAS ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่บริหารจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ ระบบการบริหารจัดการด้านการเรียนการสอน (LMS: Learning Management System) มาตรฐาน SCORM (Sharable Content Object Reference Model)

LMS Model

ส่วนประกอบของ LMS Learning Management System 1. ระบบจัดการหลักสูตร (Course Management) 2. ระบบการสร้างบทเรียน (Content Management) 3. ระบบการทดสอบและประเมินผล (Test and Evaluation System) 4. ระบบส่งเสริมการเรียน (Course Tools) 5. ระบบจัดการข้อมูล (Data Management System)

1. ระบบจัดการหลักสูตร Course Management ผู้ใช้งานแบ่งเป็น 3 ระดับคือ ผู้เรียน ผู้สอน และผู้บริหารระบบ โดยสามารถเข้าสู่ระบบจากที่ไหน เวลาใดก็ได้ โดยผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต

2. ระบบการสร้างบทเรียน Content Management ประกอบด้วยเครื่องมือในการช่วยสร้าง Content ระบบสามารถใช้งานได้ดีทั้งกับบทเรียนในรูป Text - based และบทเรียนใน รูปแบบ Streaming Media

3. ระบบการทดสอบและประเมินผล Test and Evaluation System มีระบบคลังข้อสอบ โดยเป็นระบบการสุ่มข้อสอบสามารถจับเวลาการทำข้อสอบและการตรวจข้อสอบอัตโนมัติ พร้อมเฉลย รายงานสถิติ คะแนน และสถิติการเข้าเรียนของนักศึกษา

4. ระบบส่งเสริมการเรียน Course Tools ประกอบด้วยเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้สื่อสารระหว่าง ผู้เรียน - ผู้สอน และ ผู้เรียน - ผู้เรียน

5. ระบบจัดการข้อมูล Data Management System ประกอบด้วยระบบจัดการไฟล์และโฟลเดอร์ ผู้สอนมีเนื้อที่เก็บข้อมูลบทเรียนเป็นของตนเอง โดยได้เนื้อที่ตามที่ผู้ดูแลระบบกำหนดให้

ITSchool e-Learning Concept

Learning Object (LO) นำรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรมาวิเคราะห์ เพื่อเลือก Learning Object ไปใช้ในการสร้างและพัฒนา รายวิชาที่จัดการเรียนการสอนให้ตรงกับวัตถุประสงค์รายวิชา ใช้ประโยชน์จากการใช้เนื้อหาร่วมกันในรายวิชาที่ต่างกัน (Share Content) ทำให้การพัฒนาเนื้อหาในรายวิชาทำได้รวดเร็วยิ่งขึ้น ลดค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาบทเรียน (Content Maintenance)

วิธีดำเนินการวิจัย 1. ออกแบบโครงสร้างบทเรียน e-Learning 2. การจัดการสื่อการเรียนการสอนสร้างบทเรียนตามโครงสร้างในระบบ e-Learning ตามที่ออกแบบไว้ 3. นำไปใช้งาน โดยให้นักศึกษาลงทะเบียนใช้งานระบบ ทบทวนบทเรียน ทำแบบทดสอบตนเอง 4. ให้นักศึกษาประเมินผลการใช้งานระบบ e-Learning เพื่อทดสอบความพึงพอใจในการใช้งานระบบ เพื่อนำไปปรับปรุงต่อไปในอนาคต 5. สรุปผลการวิจัยโดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจในการใช้งานระบบ e-Learning และการสอบถามจากผู้เรียน

โครงสร้างบทเรียน e-Learning

การใช้งานระบบ e-Learning หน้าจอสำหรับเข้าใช้งานระบบ http://itschool.siam.edu/it-elearning

การใช้งานระบบ e-Learning (ต่อ)

การใช้งานระบบ e-Learning (ต่อ) เอกสารนำเสนอจัดทำเป็นรูปแบบ Slide Show

การใช้งานระบบ e-Learning (ต่อ) แบบทดสอบตนเอง - เติมคำ ปรนัย

การใช้งานระบบ e-Learning (ต่อ) แบบทดสอบตนเอง – จับคู่ หาตำแหน่งที่ผิด

การใช้งานระบบ e-Learning (ต่อ) แสดงผลการทำแบบทดสอบตนเอง

การใช้งานระบบ e-Learning (ต่อ) วิดีโอแสดงวิธีปฏิบัติพร้อมคำอธิบาย

แบบประเมินความพึงพอใจในการใช้งาน

ผลการประเมินการใช้งานระบบ e-Learning

สรุปผลการวิจัย ผู้วิจัยได้ให้นักศึกษาประเมินผลการใช้งานระบบ e-Learning โดยมีผู้ตอบแบบประเมินเป็นนักศึกษาที่ลงทะเบียนวิชา 191-201 การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2 จำนวน 72 คน ประเด็น “ระยะเวลาในการทำแบบทดสอบมีความเหมาะสม” มีระดับความพึงพอใจน้อยที่สุด เท่ากับ 3.81 ประเด็น “การจัดแบ่งหัวข้อและเนื้อหามีความเหมาะสม” มีระดับความพึงพอใจมากที่สุด เท่ากับ 4.29 ผลการประเมิน “ความพึงพอใจในการใช้งานโดยรวม” เท่ากับ 4.28 ซึ่งอยู่ในระดับดี นักศึกษาพึงพอใจในการจัดทำวิดีโอแสดงวิธีปฏิบัติพร้อมคำอธิบาย

ข้อเสนอแนะ ในรายวิชาที่เน้นการปฏิบัติ สามารถสร้างบทเรียน e-Learning ควบคู่ไป เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษามีการเตรียมตัวในส่วนของความรู้พื้นฐาน หลักการ แนวคิด นำไปใช้ในส่วนปฏิบัติ ควรส่งเสริมการสร้างบทเรียนระบบ e-Learning เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการเรียนการสอนในทุกรายวิชา ควรจัดทำบทเรียนให้เป็นมาตรฐาน เพื่อให้สามารถพัฒนาการเรียนการสอนให้เป็นไปในรูปแบบเดียวกัน สามารถแลกเปลี่ยนเนื้อหาหรือบทเรียนของ e-Learning ระหว่างกันได้ ควรพัฒนาระบบสารสนเทศอื่นเพิ่ม เพื่อติดตามการเข้ามาใช้งานระบบ เช่น ตรวจสอบจำนวนครั้ง ระยะเวลาที่เข้ามาใช้งานในแต่ละครั้ง เพื่อใช้วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกบางอย่างเพิ่มเติม

Q&A