ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษากิจกรรมพิเศษเพื่อ ส่งเสริมแรงจูงใจ ต่อการเรียนวิชา ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นปีที่ 3 ชื่อผู้วิจัย นางสาวเนตรดาว เจนวิทยาอมร เวช สถานศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง 108 หมู่ 3 ต. หนองอ้อ อ. บ้าน โป่ง จ. ราชบุรี ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษากิจกรรมพิเศษเพื่อ ส่งเสริมแรงจูงใจ ต่อการเรียนวิชา ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นปีที่ 3 ชื่อผู้วิจัย นางสาวเนตรดาว เจนวิทยาอมร เวช สถานศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง 108 หมู่ 3 ต. หนองอ้อ อ. บ้าน โป่ง จ. ราชบุรี วิทยาลัยเทคโนโลยีดอน บอสโก บ้านโป่ง
ปัญหาการวิจัย สภาพการเรียนการสอนที่ผ่านมาของวิชาธุรกิจและ การเป็นผู้ประกอบการ พบว่าผู้เรียน ไม่มีแรงจูงใจในการ เรียน จากการสังเกตการสอนที่ผ่านมา นักเรียนไม่ตั้งใจ เรียน ไม่เอาใจใส่ในการเรียน ไม่พัฒนาเปลี่ยนแปลง ตนเอง ไม่ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมการเรียนกับ เพื่อน และครูผู้สอน ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิดของการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มุ่งกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ ประกอบกับแนวคิดของ เอกรินทร์ สี่มาศาล (2551 : ออนไลน์ ) ที่สร้างแรงจูงใจให้กับผู้เรียน โดยการใช้ กิจกรรมพิเศษ ปัญหาการวิจัย สภาพการเรียนการสอนที่ผ่านมาของวิชาธุรกิจและ การเป็นผู้ประกอบการ พบว่าผู้เรียน ไม่มีแรงจูงใจในการ เรียน จากการสังเกตการสอนที่ผ่านมา นักเรียนไม่ตั้งใจ เรียน ไม่เอาใจใส่ในการเรียน ไม่พัฒนาเปลี่ยนแปลง ตนเอง ไม่ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมการเรียนกับ เพื่อน และครูผู้สอน ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิดของการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มุ่งกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ ประกอบกับแนวคิดของ เอกรินทร์ สี่มาศาล (2551 : ออนไลน์ ) ที่สร้างแรงจูงใจให้กับผู้เรียน โดยการใช้ กิจกรรมพิเศษ
วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช.) ของวิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง มี แรงจูงใจในการเรียนวิชาธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการที่ ดีขึ้นโดยการใช้กิจกรรมพิเศษ วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช.) ของวิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง มี แรงจูงใจในการเรียนวิชาธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการที่ ดีขึ้นโดยการใช้กิจกรรมพิเศษ
กรอบแนวคิดในการทำวิจัย ตัวแปรต้น กิจกรรมพิเศษ ที่ครูให้ ปฏิบัติระหว่าง เรียน ตัวแปร ตาม การส่งเสริม แรงจูงใจต่อการ เรียนของ นักเรียนระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นปีที่ 3
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรและกลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มเดียวกันคือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ ปีการศึกษา 2555 ของวิทยาลัยเทคโนโลยีดอน บอสโก บ้านโป่ง สาขาวิชาเครื่องมือกลและซ่อมบำรุง จำนวน 28 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล ใช้แบบตารางบันทึกคะแนนกิจกรรมพิเศษ ( ผลงาน / ชิ้นงาน ) โดยใช้เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Rubric) สถิติที่ใช้ในการวิจัย รวบรวมหาเป็นค่าเฉลี่ย ( ) ของคะแนนกิจกรรม ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรและกลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มเดียวกันคือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ ปีการศึกษา 2555 ของวิทยาลัยเทคโนโลยีดอน บอสโก บ้านโป่ง สาขาวิชาเครื่องมือกลและซ่อมบำรุง จำนวน 28 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล ใช้แบบตารางบันทึกคะแนนกิจกรรมพิเศษ ( ผลงาน / ชิ้นงาน ) โดยใช้เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Rubric) สถิติที่ใช้ในการวิจัย รวบรวมหาเป็นค่าเฉลี่ย ( ) ของคะแนนกิจกรรม
การวิเคราะห์ข้อมูล ตารางแสดงค่าเฉลี่ยของคะแนน กิจกรรม พิเศษ ( ผลงาน / ชิ้นงาน ) การวิเคราะห์ข้อมูล ตารางแสดงค่าเฉลี่ยของคะแนน กิจกรรม พิเศษ ( ผลงาน / ชิ้นงาน ) ลำดับ ที่คะแนน ( X ) คะแนนเฉลี่ย ( )
ลำดั บที่คะแนน ( X ) คะแนนเฉลี่ย ( ) รวม 104 ผลรวมของคะแนนเฉลี่ยสะสม = 104 ผลรวมคะแนนเฉลี่ยของห้อง = 3.71
สรุปผลการวิจัย ผลจากศึกษากิจกรรมพิเศษเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจต่อ การเรียนวิชาธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ ปรากฏผล ดังนี้ จากกิจกรรมพิเศษที่มอบหมายให้นักเรียนทำผลงาน / ชิ้นงาน โดยการใช้เกณฑ์การประเมินจากองค์ประกอบที่ ประเมินในด้านเนื้อหา ภาษา สื่อ / ตัวอย่าง และเวลา พบว่านักเรียนที่ได้คะแนนสูงที่สุดคือ ระดับคะแนน 3.75 ต่ำสุด คือ ระดับคะแนน 3.50 และจากระดับคะแนนเฉลี่ย ของห้อง อยู่ในระดับคะแนน 3.71 พบว่าผลงาน / ชิ้นงาน อยู่ในระดับดี นักเรียนจึงมีแรงจูงใจต่อการเรียนสูงขึ้นจาก การใช้กิจกรรมพิเศษ สรุปผลการวิจัย ผลจากศึกษากิจกรรมพิเศษเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจต่อ การเรียนวิชาธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ ปรากฏผล ดังนี้ จากกิจกรรมพิเศษที่มอบหมายให้นักเรียนทำผลงาน / ชิ้นงาน โดยการใช้เกณฑ์การประเมินจากองค์ประกอบที่ ประเมินในด้านเนื้อหา ภาษา สื่อ / ตัวอย่าง และเวลา พบว่านักเรียนที่ได้คะแนนสูงที่สุดคือ ระดับคะแนน 3.75 ต่ำสุด คือ ระดับคะแนน 3.50 และจากระดับคะแนนเฉลี่ย ของห้อง อยู่ในระดับคะแนน 3.71 พบว่าผลงาน / ชิ้นงาน อยู่ในระดับดี นักเรียนจึงมีแรงจูงใจต่อการเรียนสูงขึ้นจาก การใช้กิจกรรมพิเศษ