โดย นายเฉลิมศักดิ์ ชุปวา 7 ตุลาคม 2552

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

ระบบสารสนเทศและการพัฒนาระบบ Information Systems and System Development
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
การบริหารงานของห้องสมุด
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
ซอฟต์แวร์.
การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง
สมพงษ์ เจริญศิริ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
กลไกทำงานเพื่อสนับสนุน การยืมระหว่างห้องสมุด ของเครือข่าย ThaiLIS
การจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
การสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 23 มกราคม 2557
ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ระบบข้อสอบออนไลน์.
การพัฒนาทักษะการจดบันทึก เพื่อต่อยอดความรู้สู่การปฏิบัติ
การรับ-ส่งวิทยุสื่อสารผ่านเครือข่าย VPN
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา
“Knowledge Management in Health Care”
Knowledge Management (KM)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยนครพนม
แผน 4 ปี ( ) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
อินเทอร์เน็ตกับการศึกษาค้นคว้า
การบรรยาย หัวข้อ “KM : เครื่องมือพัฒนาทีมงาน และองค์การ”
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด : ความเป็นไปได้ในการจัดการ สารสนเทศ
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
Virtual Library ห้องสมุดเสมือน.
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ห้องสมุดเสมือนและการเรียนรู้ทางอินเทอร์เน็ต Virtual-Library and E-Learning ดร.ปรัชญนันท์
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
โครงสร้างขององค์กร (Organization Structure)
การพัฒนาระบบสารสนเทศ:องค์กรขนาดเล็ก
ข้อมูลและสารสนเทศ.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มช.
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
บทบาทของ สารสนเทศ จัดทำโดย น. ส อมรรัตน์ เม่งบุตร 002.
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
การค้นคว้าข้อมูลจากฐานข้อมูลต่างๆ ในอินเทอร์เน็ต
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
ระบบสารสนเทศ เพื่อการสื่อสาร
การประยุกต์ใช้ ระบบสารสนเทศ ในองค์กร. เนื้อหา การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในงานบริการสถาบัน บริการสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในการจัดการเอกสาร การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร.
องค์ประกอบ เทคโนโลยี สารสนเทศ. เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสื่อสาร โทรคมนาคม ฮาร์ดแ วร์ ซอฟต์ แวร์ บุคลาก ร ข้อมูล ขั้นตอน การ ปฏิบัติงาน.
โดย สุกาญจนา ทิพยเนตร 1. สร้างสรรค์นวัตกรรมทางเทคโนโลยี สารสนเทศที่ยั่งยืนและมีประสิทธิภาพสูงที่ นำมาสนับสนุนกระบวนการจัดการความรู้ 2. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เชี่ยวชาญ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ
ICTs จะช่วยอำนวยความสะดวกในการพัฒนาประเทศใน 3 ลักษณะ
การจัดการความรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
มาตรฐานการจัดเก็บ การ ค้นคืน การแลกเปลี่ยนและการ เชื่อมโยงเครือข่าย สมพงษ์ เจริญศิริ สันติภาพ เปลี่ยนโชติ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยศรี ปทุม ยินดีต้อนรับนิสิตใหม่ ปี การศึกษา
แผนภูมิองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย นายเฉลิมศักดิ์ ชุปวา 7 ตุลาคม 2552 ระบบห้องสมุดอัตโนมัติเบื้องต้น โดย นายเฉลิมศักดิ์ ชุปวา 7 ตุลาคม 2552 09/04/60 *

09/04/60 *

การจัดการความรู้ Knowledge Management 09/04/60 *

ความหมายของ Knowledge ที่นำไปสู่การกระทำที่มีประสิทธิภาพ ความรู้เป็นสารสนเทศที่เปลี่ยนแปลงบางสิ่งบางอย่างไปสู่การปฏิบัติ หรือ การทำให้คนหรือองค์กรสามารถ ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ความรู้เป็นการกระทำที่ได้รับการยอมรับโดยกลุ่มคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งของสังคม 09/04/60 *

ความสำคัญของความรู้ เดิม-Knowledge is Power. ใหม่-Knowledge sharing is Power. การเรียนรู้จะนำไปสู่การสร้างนวัตกรรม (Innovation) หรือการสร้างองค์ความรู้ใหม่ หน่วยงานหรือองค์กรที่สามารถสร้างองค์ความรู้หรือสร้างองค์ความรู้ได้ย่อมมีโอกาสประสบความสำเร็จได้มากกว่า 09/04/60 *

ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้กับกระบวนการทำงาน สมอง ความรู้ ความคิด การตัดสินใจ การปฏิบัติ กระบวน การทำงาน ผลิตภัณฑ์ บริการ สารสนเทศ คน การทำงาน ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้กับกระบวนการทำงาน 09/04/60 *

วัตถุประสงค์ของความรู้ (ที่มา : จาก MIS98 Mindshare Conference) context Purpose wisdom historical context mentoring Knowledge setting direction strategic context decision making managerial context information processing transaction data Operational context วัตถุประสงค์ของความรู้ (ที่มา : จาก MIS98 Mindshare Conference) 09/04/60 *

Implementing Knowledge Management The “TUNA” Model (Thai-UNAids) * นำเสนอแนวคิดโดย ดร. ประพนธ์ ผาสุกยืด สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) 09/04/60 *

KF KP CKO Network Manager ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) Network Manager KF Knowledge Sharing (KS) Knowledge Assets (KA) KP CKO Knowledge Vision (KV) ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” 09/04/60 *

แนวทางการพัฒนาการจัดการความรู้ การจัดหาหรือสร้างความรู้ (Knowledge Creation) การจัดเก็บความรู้ (Knowledge Organization) การเผยแพร่ความรู้ (Knowledge Distribution) 09/04/60 *

ห้องสมุดคืออะไร ? แหล่ง หรือสถานที่ สารสนเทศ (Information) คน หรือบุคลากร (People) มีระบบ (System :ระบบจัดเก็บ และระบบสืบค้น) มีบริการ ( Service) 09/04/60 *

งานห้องสมุด งานเทคนิค งานบริการ งานบริหาร 09/04/60 *

งานเทคนิค 1. งานเทคนิคสารสนเทศ งานพัฒนาทรัพยากร งานวิเคราะห์หมวดหมู่และทำรายการค้น งานเตรียมออกให้บริการ งานบำรุงรักษาสิ่งพิมพ์ 09/04/60 *

งานบริการ 2. งานบริการ งานบริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้า งานบริการชั้นเปิด งานบริการยืม-คืน งานบริการยืมระหว่างห้องสมุด งานบริการรวบรวมบรรณานุกรม 09/04/60 *

งานบริหาร 3. งานบริหาร งานบุคคล งานพัสดุ งานสารบรรณ งานประกันคุณภาพ ฯลฯ 09/04/60 *

นำชมห้องสมุดร่วมสมัย สำนักวิทยบริการมหาวิทยาลัยมหาสารคาม http://www.library.msu.ac.th The LIBRARY of CONGRESS :http://www.loc.gov/index.html OhioLink :http://olc1.ohiolink.edu/ สหบรรณานุกรม:http://202.28.18.229/cgi-bin/gw/chameleon?lng=th&skin=msu 09/04/60 *

สำนักวิทยบริการ มมส. 09/04/60 *

FULL TEXT 09/04/60 *

ระบบห้องสมุดอัตโนมัติคืออะไร ? ใช้คอมพิวเตอร์บันทึกข้อมูลห้องสมุดอย่างต่อเนื่องครบวงจร เชื่อมต่อกับผู้ใช้ด้วยเครือข่ายโทรคมนาคม -online 09/04/60 *

วัตถุประสงค์ของระบบห้องสมุดอัตโนมัติ จัดระบบจัดเก็บ ค้นหาและเผยแพร่สารสนเทศของห้องสมุดให้ง่าย สะดวก เพื่อลดภาระงานอย่างต่อเนื่องครบ วงจร จัดระบบเครือข่ายให้เชื่อมโยงกันได้ 09/04/60 *

องค์ประกอบของระบบห้องสมุดอัตโนมัติ Hardware Software Peopleware Information Work Procedure 09/04/60 *

Hardware ให้สัมพันธ์กับ Software Serverระบบห้องสมุดอัตโนมัติไม่ควรร่วมกับระบบอื่น ควรเป็นระบบเครือข่าย ควรมีแผนรองรับสำหรับอนาคตด้วย คุณภาพเป็นสิ่งสำคัญมากเพราะต้องบริการ 24 ชั่วโมงต่อวัน 09/04/60 *

Software หรือชุดโปรแกรม 09/04/60 *

Module ที่เป็นพื้นฐาน Acquisition Module – ชุดโปรแกรมจัดหา Cataloging Module – ชุดโปรแกรมจัดทำรายการสารสนเทศ Serial Control Module – ชุดโปรแกรมควบคุมวารสาร Online Public Access Cataloging Module (OPAC) – ชุดโปรแกรมสืบค้นสารสนเทศ Circulation Module – ชุดโปรแกรมยืม-คืนสารสนเทศ 09/04/60 *

Peopleware ควรมีบรรณารักษ์หรือผู้มีความรู้ในการสร้างฐานข้อมูลให้ได้มาตรฐาน ควรแบ่งหน้าที่กันรับผิดชอบ บุคลากรควรร่วมมือกันในการทำงานเป็นทีม ควรมีผู้มีความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์เป็นที่ปรึกษา 09/04/60 *

Work Procedure ทุกคนที่ปฏิบัติงานในระบบห้องสมุดอัตโนมัติควรจะมีคู่มือปฏิบัติงาน ทุกคนปฏิบัติตามคู่มืออย่างเคร่งครัด 09/04/60 *

Information สารสนเทศเกี่ยวกับสถาบัน สารสนเทศเกี่ยวกับผู้ใช้บริการ บรรณานุกรมสารเทศที่มีบริการ สารสนเทศที่มีเนื้อหาเต็มรูป 09/04/60 *

ข้อมูล Digital ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงดังนี้ Information is Transportable - ส่งข้อมูลผ่าน network ได้รวดเร็ว Information is Sharable - ใช้ข้อมูลได้พร้อมกัน Information is Substitutable - ข้อมูลหลายรูปแบบ (Digital Package) Information is Compressible - บีบอัดและส่งได้รวดเร็ว Information is Expandable - สามารถขยายได้ Information is Diffussive - กระจายหรือสำเนาได้สะดวก 09/04/60 *

การพัฒนาระบบห้องสมุดดิจิตอล Digital Library 09/04/60 *

ความเป็นมาของ Digital Library ห้องสมุดสิ่งพิมพ์ (Paper Library) ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ (Library Automation System) ห้องสมุดดิจิตอลหรือห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (Digital Library or Electronic Library) 09/04/60 *

ชื่อต่างๆที่เรียก Digital Library ห้องสมุดอิเล็คทรอนิกส์ (Electronic Library) ห้องสมุดเสมือนจริง(Virtual Library) ห้องสมุดไฮบริด (Hybrid Library) คลังข้อมูลดิจิตอล (Digital Archive) 09/04/60 *

ความหมายของ Digital Library เป็นการจัดการข้อมูลในรูปดิจิตอล ไว้ในฐานข้อมูลเพื่อประโยชน์ใน การสืบค้นโดยมีการจัดหา จัดเก็บ จัดทำอย่างเป็นระบบ มีการลงรายการตามหลักมาตรฐานสากล และเผยแพร่ผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต โดยเน้นการอนุรักษ์และเผยแพร่เนื้อหาของ ข้อมูลดิจิตอลในลักษณะเอกสารเต็มรูป สามารถสืบค้นได้โดยไม่จำกัดเวลา สถานที่ และรูปแบบสารสนเทศ 09/04/60 *

ความจำเป็นในการพัฒนา Digital Library ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบเครือข่าย Internet การขยายการเข้าถึงสารสนเทศ โดยไม่มีจำกัดเวลาสถานที่ การเก็บรักษาสภาพของทรัพยากร ห้องสมุดที่มีคุณค่าไม่ให้เสื่อมสลาย เป็นแหล่งข้อมูลการศึกษา ค้นคว้าวิจัย ของมวลมนุษยชาติ เพื่อเผยแพร่วัฒนธรรม เพื่อสะดวกและรวดเร็วในการเข้าถึงเนื้อหาโดยตรง 09/04/60 *

องค์ประกอบของ Digital Library ผู้ใช้ที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาในรูปดิจิตอล บุคลากรที่เกี่ยวข้อง เทคโนโลยีสารสนเทศ (Hardware Software) เงินทุนหรืองบประมาณ โครงสร้างการดำเนินงาน มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง 09/04/60 *

สิ่งที่ต้องพิจารณาในการพัฒนา Digital Library วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมายหรือผู้ใช้ เจ้าของลิขสิทธิ์ ระยะเวลาดำเนินการ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบโครงการ วิธีการแปลงข้อมูล 09/04/60 *

แนวทางที่จะนำระบบห้องสมุดอัตโนมัติมาใช้ พัฒนาขึ้นเอง ซื้อโปรแกรมสำเร็จรูป ใช้ร่วมกับห้องสมุดอื่น ซื้อร่วมกับห้องสมุดอื่นในแบบภาคีสมาชิก 09/04/60 *

เกณฑ์ในการเลือกระบบห้องสมุดอัตโนมัติ1 คุณสมบัติของฮาร์ดแวร์ คุณสมบัติของซอฟต์แวร์ ราคาของฮาร์ดแวร์ทุกรายการ ราคาของซอฟต์แวร์ทุกรายการ ค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาระบบ ความเป็นมาตรฐานสากลของระบบ ความสามารถในการปรับปรุงให้ตรงตามความต้องการเฉพาะ     09/04/60 *

เกณฑ์ในการเลือกระบบห้องสมุดอัตโนมัติ 2 ความสามารถในการขยายระบบเพิ่มเติมในอนาคต ระยะเวลาการส่งมอบและติดตั้ง ระยะเวลาประกัน การฝึกอบรม เอกสาร คู่มือการใช้งาน ความแพร่หลายของระบบที่ใช้ ภูมิหลังของบริษัทที่เสนอ บริการสนับสนุนของบริษัทผู้เสนอระบบ อื่น ๆ 09/04/60 *

โปรแกรมทดลองใช้ http://www.thaiware.com เลือก group education-Librarymanagement http://www.google.com โปรแกรมห้องสมุดหรือ library automation ติดต่อผู้จำหน่ายขอทดลองใช้ก่อนน่าจะได้ 09/04/60 *

จบการบรรยาย 09/04/60 *