โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
การเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม
การศึกษารายกรณี.
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินงานด่านอาหารและยาส่วนภูมิภาค ปีงบประมาณ 2556
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
ไข้เลือดออก.
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
ระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน ทางอิเล็กทรอนิกส์ของ สป.
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับ
การนำเสนอผลงานการพัฒนาคุณภาพ
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี ณัฐวรรณ เชาวน์ลิลิตกุล สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

ความหมายการเฝ้าระวัง การเจริญเติบโต เป็นกระบวนการควบคุมกำกับการเปลี่ยนแปลง น้ำหนักส่วนสูงให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน โดยดำเนินการเป็นระยะๆ อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง เพื่อให้รู้สถานการณ์ และ ดำเนินการส่งเสริมการเจริญเติบโต ป้องกัน หรือแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการ ณัฐวรรณ เชาวน์ลิลิตกุล สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

แนวคิดของ การเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของเด็ก อดีต เน้นการแก้ไขปัญหา ปัจจุบัน เน้นการส่งเสริมการเจริญเติบโต ณัฐวรรณ เชาวน์ลิลิตกุล สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

เป้าหมายของ การเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของเด็ก การเจริญเติบโตที่ดีอยู่แล้ว ให้คงอยู่ การเจริญเติบโตดีขึ้นมากกว่าเดิม ณัฐวรรณ เชาวน์ลิลิตกุล สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

ขั้นตอนการเฝ้าระวังฯ ณัฐวรรณ เชาวน์ลิลิตกุล สำนักโภชนาการ กรมอนามัย ประเมินการเจริญเติบโตของเด็ก ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร แจ้งและอธิบายผลการประเมิน ให้คำแนะนำการบริโภคอาหารเป็นรายคน นำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ ดำเนินการส่งเสริม ป้องกันและแก้ไขปัญหาทุพ โภชนาการ ติดตามเด็กขาดอาหาร อ้วน และกลุ่มเสี่ยง รายงานภาวะการเจริญเติบโต ณัฐวรรณ เชาวน์ลิลิตกุล สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

ประเมินการเจริญเติบโต โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และแปลผล ทุก 6 เดือนในเด็กอายุ 6-18 ปี เพื่อให้ทราบภาวะการเจริญเติบโตและ แนวโน้มการเจริญเติบโต เด็กอายุ 6-18 ปี ทุก 6 เดือน เทอม 1 ภายในเดือนมิถุนายน เทอม 2 ภายในเดือนธันวาคม ณัฐวรรณ เชาวน์ลิลิตกุล สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

โปรแกรมเฝ้าระวังการเจริญเติบโต...ทำอะไรได้บ้าง? ขั้นตอนการดำเนินงานเฝ้าระวัง/กิจกรรม โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของ เด็กอายุ 0-18 ปี 1. ประเมินภาวะการเจริญเติบโต ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง แปลผล ในกราฟ 3 เกณฑ์ น้ำหนักตามเกณฑ์อายุ ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง จุดน้ำหนักส่วนสูงบนกราฟและลากเส้นเชื่อมโยงจุด   2. ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ณัฐวรรณ เชาวน์ลิลิตกุล สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

โปรแกรมเฝ้าระวังการเจริญเติบโต...ทำอะไรได้บ้าง? ขั้นตอนการดำเนินงานเฝ้าระวัง/กิจกรรม โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี 3. แจ้งผลการประเมินให้กับพ่อแม่/ผู้ปกครอง ภาวะการเจริญเติบโต แนวโน้มการเจริญเติบโต พฤติกรรมการบริโภคอาหาร มีคำอธิบาย  4. นำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ (ระดับ บุคคล หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ) รวบรวมข้อมูลภาวะการ เจริญเติบโต วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อค้นหาสาเหตุ กำหนดนโยบาย และวางแผน การดำเนินงาน แสดงข้อมูลภาวะการเจริญเติบโตเด็ก อายุ 0-18 ปีเป็นรายบุคคล และ ภาพรวมของศูนย์เด็ก โรงเรียน สอ. รพช. อำเภอ จังหวัด ณัฐวรรณ เชาวน์ลิลิตกุล สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

โปรแกรมเฝ้าระวังการเจริญเติบโต...ทำอะไรได้บ้าง? ขั้นตอนการดำเนินงาน เฝ้าระวัง/กิจกรรม โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี 5. ดำเนินงานส่งเสริมภาวะการเจริญเติบโตของเด็ก ป้องกัน และแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการ มีคำแนะนำการบริโภคอาหารตามภาวะการ เจริญเติบโต แสดงชนิดและปริมาณอาหาร ทดแทนในแต่ละกลุ่มอาหารพร้อมทั้งแสดงรูปภาพ อาหารตามหน่วยชั่ง ตวง วัดของแต่ละกลุ่มอาหาร เช่น ทัพพี ช้อนกินข้าว ส่วน เลือกแสดงรายชื่อเด็กที่มีส่วนสูงดีและสมส่วน เพื่อจัดประกวด สร้างกระแส 6. ติดตามภาวะการเจริญ เติบโต และพฤติกรรมการ บริโภคอาหาร เลือกแสดงรายชื่อเด็กตามภาวะการเจริญเติบโต เพื่อใช้ในการติดตาม 7. รายงาน แสดงข้อมูลเป็นค่าร้อยละของภาวะการเจริญเติบโตทั้ง 3 ตัวชี้วัด ในระดับหมู่บ้าน ศูนย์เด็ก โรงเรียน (สามารถประมวลผลในระดับห้องเรียนและชั้นเรียน) ตำบล อำเภอ และจังหวัด ณัฐวรรณ เชาวน์ลิลิตกุล สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

สิ่งสำคัญที่สุด คือ “ การนำข้อมูลที่ได้จากโปรแกรมนี้ ไปใช้ประโยชน์ ” ณัฐวรรณ เชาวน์ลิลิตกุล สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

การใช้ประโยชน์จากโปรแกรมเฝ้าระวังฯ 1. แจ้งให้พ่อแม่หรือผู้ปกครอง เด็กวัยเรียนได้รับทราบถึงผลการประเมินการเจริญเติบโตของเด็กโดยเฉพาะแนวโน้มการเจริญเติบโต พร้อมทั้งอธิบายผลการประเมิน ณัฐวรรณ เชาวน์ลิลิตกุล สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

การใช้ประโยชน์จากโปรแกรมเฝ้าระวังฯ 2. สื่อสารให้ชุมชนได้รับทราบถึงผลการเจริญเติบโตของเด็กในชุมชน เพื่อจะได้กำหนดมาตรการทางสังคมที่จะช่วยให้เด็กอายุ 0-18 ปีได้รับการเฝ้าระวังการเจริญเติบโตและมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสม ณัฐวรรณ เชาวน์ลิลิตกุล สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

การใช้ประโยชน์จากโปรแกรมเฝ้าระวังฯ 3. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ ร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากโปรแกรมนี้ เพื่อใช้ในการกำหนดนโยบาย วางแผน และดำเนินการส่งเสริมการเจริญเติบโต ป้องกันและแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการ รวมทั้งติดตามการเจริญเติบโต ณัฐวรรณ เชาวน์ลิลิตกุล สำนักโภชนาการ กรมอนามัย