ตลาดเงินตราต่างประเทศ และอัตราแลกเปลี่ยน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
สถาบันเศรษฐกิจ สถาบันเศรษฐกิจ สถาบันเศรษฐกิจเป็นสถาบันที่ทำหน้าที่ช่วยสนองความต้องการของบุคคลในสังคมทั้งในด้านสิ่งบริโภคและอุปโภค ในสังคมที่แตกต่างกัน.
บทที่ 1 เรื่อง การฝากขาย Chollada Advance I : Consign.
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
รหัส หลักการตลาด.
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
บทที่ 2 แนวคิดและความสำคัญของงานการขาย
ตัวอย่าง SWOT Analysis
หน่วยเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
การประเมินเหตุผลของ ความร่วมมือ ทางการเงินภายใน EA 1.
หลักเกณฑ์การรายงาน การทำธุรรรมเงินสกุลหยวน
Thailand fruit paradise
บทที่ 2 ตลาดสินค้าเกษตรและตลาดอาหาร
การประยุกต์ 1. Utility function
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
ภาษีธุรกิจเฉพาะ.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
การจัดประชุมชี้แจง รายงานการลงทุนในหลักทรัพย์ในต่างประเทศ
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
ภาพรวมการตลาด ความหมายของการตลาด และ ตลาด ระบบตลาด แนวคิดทางการตลาด
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
1 ความเปลี่ยนแปลง ในภาคการเงินและในการ อภิบาลบริษัท ดร. อัมมาร สยามวาลา 9 ธันวาคม 2549.
โมเดลพยากรณ์ ราคายางแผ่นดิบ
Integrated Marketing Communication
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
 2005 Thailand Securities Institute (TSI), The Stock Exchange of Thailand 1.
แยกตามลักษณะผู้ใช้บริการ
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
บทที่ 2 การจัดหาเงินทุน (Financing)
E-Business Transformation and digital strategies
ลักษณะสำคัญของการซื้อขายล่วงหน้า
ธ.ก.ส. กับการวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศ
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
การคำนวณภาษีสรรพสามิต
หน่วยที่ 4 การเงิน การธนาคาร และนโยบายการเงิน
บทที่ 5 การค้าปลีก.
บทที่ 4 การค้าส่ง.
Supply Chain สินค้าเกษตร ในสหกรณ์การเกษตร
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ทฤษฎีนีโอคลาสสิค.
ตลาด ( MARKET ).
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
การประมูลจัดซื้อจัดจ้างแบบ on-line E-Auction
หน้าที่ทางการตลาด Marketing Function
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Creative Accounting
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
การค้าระหว่างประเทศ.
ความเสี่ยงเรื่อง เงินตราต่างประเทศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตลาดเงินตราต่างประเทศ และอัตราแลกเปลี่ยน

ตลาดเงินตราต่างประเทศและอัตราแลกเปลี่ยน นิยามตลาดเงินตราต่างประเทศ สถานที่ / กิจกรรมการซื้อขายแลกเปลี่ยนเงินตราต่างสกุล แลกเปลี่ยนจากเงินตราสกุลหนึ่งไปเป็นอีกสกุลหนึ่งตามอัตรา แลกเปลี่ยนที่กำหนด ตลาดในประเทศ ระดับภูมิภาค ตลาดโลก อัตราแลกเปลี่ยน ราคาของเงินตราต่างประเทศแต่ละสกุล

โครงสร้างตลาดเงินตราต่างประเทศ ผู้ขายเงินตราต่างประเทศ คือผู้ที่มีเงินตราต่างประเทศ ในครอบครองและต้องการขายหรือแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศสกุลที่มีอยู่ไปเป็นสกุลอื่น ผู้ซื้อเงินตราต่างประเทศ คือ ผู้ที่มีความต้องการเงืน ตราต่างประเทศเพื่อนำไปใช้จ่ายในกิจกรรมต่าง ๆทาง เศรษฐกิจระหว่างประเทศ ตัวกลางการซื้อขายเงินตราต่างประเทศ อำนวยความ สะดวกระหว่างผู้ซื้อ ผู้ขาย

หน้าที่ตลาดเงินตราต่างประเทศ 1. การโอนเงินตราต่างประเทศด้วยการหักบัญชี ( Clearing function ) 2. การให้สินเชื่อทางการค้าระหว่างประเทศ ( Credit function ) 3. ลดความเสี่ยง (Hedging function)

ประเภทของตลาดเงินตราต่างประเทศ 1. ตลาดเงินตราต่างประเทศแบบทันที (Spot Foreingn Exchange Market ) 2.ตลาดเงินตราต่างประเทศแบบล่วงหน้า (forward Foreingn Exchange Market) การประกันความเสี่ยง ( Hedging ) การเก็งกำไร ( Speculation ) Arbitage 3. ตลาดเงินตราต่างประเทศแบบอนาคต ( Futures Foreign Exchange Market ) 4. ตลาดเงินตราต่างประเทศแบบออปชั่น ( Option Foreign Exchange Market )

การกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศดุลยภาพ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศดุลยภาพกำหนดจาก ดีมานค์และซัพพลาย เงินตราต่างประเทศอุปสงค์เงินตราต่างประเทศ (Demand For Foreign Exchange ) คือ จำนวนต่างๆของเงินตราต่างประเทศสกุลนั้นที่มีผู้ซื้อต้องการซื้อ ณ ระดับอัตราแลกเปลี่ยนต่าง ๆในช่วงระยะเวลาที่กำหนด อุปทานเงินตราต่างประเทศ ( Supply of foreign Exchange) คือจำนวน ต่างๆของเงินตรา ต่างประเทศที่ได้จากการขายสินค้าและบริการนั้น

ตลาดเงินตราต่างประเทศและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ผศ ตลาดเงินตราต่างประเทศและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ผศ. ศิวิไล ชยางกูร

อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ เงินตราต่างประเทศจะเข้ามามีบทบาทในการติดต่อการค้าระหว่างประเทศ ตลาดรับแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ (The Foreign Exchang Market) คือ ตลาดรับแลกเปลี่ยนเงินตรา คือ ตลาดที่เงินสกุลของประเทศหนึ่งสามารถ แลกเปลี่ยนเป็นเงินสกุลของอีกประเทศหนึ่งตามมูลค่าที่กำหนด อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา (The Rate of Exchange) คือ ราคาของเงินสกุลหนึ่งในรูปของเงินสกุลอื่น เช่น 34 บาท เท่ากับ 1 ดอลล่าร์ อัตราแลกเปลี่ยนเสรี (Flexible Exchange Rate) เงินตราเหมือนสินค้ามีคนซื้อคนขาย ตลาดเสรีอัตราการแลกเปลี่ยนจะกำหนด โดย ผู้ซื้อ - ผู้ขาย

อุปสงค์เงินตราต่างประเทศ (The Demand For Foreign Exchange) ความต้องการเงินตราต่างประเทศ จะต้องมีความต้องการซื้อสินค้าหรือ บริการ ต้องการลงทุนหรือชำระหนี้กับต่างประเทศ ลักษณะเส้นอุปสงค์ เงินต่างประเทศเหมือนกับอุปสงค์ของสินค้า คือ ลาดออกจากซ้ายไปขวา อุปทานเงินตราต่างประเทศ (The Supply of Foreign Exchange) ปริมาณเสนอขายเงินตราต่างประเทศ เกิดจากการได้รับชำระสินค้าและ บริการจากการส่งออกหรือนักลงทุนจากต่างประเทศมาลงทุนในไทย ลักษณะทอดขึ้นจากซ้ายไปขวา

การกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา (Determination of the Rate of Exchange) อัตราแลกเปลี่ยนแปรผันโดยตรงกับอุปทานเงินตราต่างประเทศและแปรผัน ตรงข้ามกับอุปสงค์เงินตราต่างประเทศ ณ ระดับอัตราแลกเปลี่ยนซึ่งอุปสงค์และ อุปทานเงินตราต่างประเทศเท่ากันพอดี เรียกว่าการแลกเปลี่ยนดุลยภาพ การแลกเปลี่ยนในอัตราแลกเปลี่ยนดุลยภาพ มีตัวแปรหลายตัวที่เป็นสาเหตุ เช่น รายได้ประเทศคู่ค้าเพิ่มขึ้น ส่งออกเพิ่มขึ้นทำให้เงินดอลล่าร์เสื่อมค่าลง (Depreciation) หรือ เงินบาทเพิ่มค่าขึ้น (Appreciation) ถ้าดอลล่าร์มีค่าเพิ่มขึ้น (Appreciation) เงินบาทลดค่าลง (Depreciation)

ตลาดเงินตราต่างประเทศ ตลาดเงินตราต่างประเทศ หมายถึง ตลาดที่ทำหน้าที่ในการนำเงินตรา ที่รับหรือต้องจ่ายมาแลกเปลี่ยนกันเพื่อสะดวกในการติดต่อ การค้า – การลงทุน ตลาดเงินตราต่างประเทศทันที (Spot Foreign Exchange Market) หมายถึง ซื้อขายเงินตราต่างประเทศเพื่อการส่งมอบทันทีสมมติ อัตราแลกเปลี่ยนทันทีของเงินดอลล่าร์กับเงินยูโร คือ 2$ = 1Uro ใน วันที่ 1 ม.ค. 51 แสดงว่าต้องใช้เงิน 2$ เพื่อซื้อ 1Uro จะมีการมอบทันที หรือ 2 วันทำการ

ตลาดเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า (Forward Foreign Exchange Market) หมายถึง การซื้อขายเงินตราต่างประเทศโดยผู้ซื้อและผู้ขายทำความตกลง ซื้อขายเงินต่างประเทศล่วงหน้าตามจำนวนเงินและระยะเวลาที่กำหนดไว้ แน่นอนในอนาคต เช่น วันที่ 1 ม.ค. 51 อัตราแลกเปลี่ยน 2 $ เท่ากับ 1Uro ถ้ามีการส่งมอบใน 60 วัน ข้างหน้าโดยกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า 3$ เท่ากับ 1Uro แสดงว่าอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าสูงขึ้น

การประกันความเสี่ยง (Hedging) การเก็งกำไร (Speculation) และการทำ (Arbitrage) Hedging เป็นการป้องกันในการที่อัตราแลกเปลี่ยนมีการเปลี่ยนแปลง เช่น ผู้นำเข้าสั่งซื้อสินค้ากับต่างประเทศโดยตกลงชำระในอนาคต ถ้าเกรง ว่าจะมีปัญหาเรื่องอัตราแลกเปลี่ยนทำการประกันความเสี่ยงได้ Speculation เป็นแสวงหาความเสี่ยงโดยคาดหวังว่าจะได้กำไรจาก ความแตกต่างของอัตราแลกเปลี่ยนในปัจจุบันและอนาคต Arbitrage เป็นการหากำไรจากความแตกต่างของอัตราดอกเบี้ยหรือ อัตราแลกเปลี่ยนของตลาด 2 ตลาดหรือมากกว่า