งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ (Equilibrium Price) และปริมาณดุลยภาพ (Equilibrium Quantity)

2 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาด และกลไกการปรับตัวเข้าสู่ดุลยภาพ
การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาด และกลไกการปรับตัวเข้าสู่ดุลยภาพ ตารางอุปสงค์และอุปทานของตลาด ราคา (บาท) 5 4 3 2 1 ปริมาณเสนอซื้อ ปริมาณการเสนอขาย 1,000 5,000 2,000 4,000 3,000 5 ปริมาณ (Q) 1,000 3,000 5,000 3 S ราคา (P) 1 D Excess Demand Excess Supply E

3 เปลี่ยนแปลงของเส้นอุปทาน
การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพเกิดขึ้นจาก การเปลี่ยนแปลงของเส้นอุปสงค์ การเปลี่ยนแปลงของเส้นอุปทาน การเปลี่ยนแปลงของเส้นอุปสงค์และการ เปลี่ยนแปลงของเส้นอุปทาน

4 การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์
ราคา (P) ปริมาณ (Q) S D2 E1 P1 Q1 D1 E2 P2 Q2 อุปสงค์เปลี่ยนแปลงลดลง ราคา (P) ปริมาณ (Q) S D1 E1 P1 Q1 D2 E2 P2 Q2 อุปสงค์เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น

5 การเปลี่ยนแปลงของอุปทาน
D ปริมาณ (Q) ราคา (P) S S1 P1 P2 Q1 Q2 E1 E2 อุปทานเปลี่ยนแปลงลดลง D ปริมาณ (Q) ราคา (P) S S1 P1 P2 Q1 Q2 E1 E2 อุปทานเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น

6 การเปลี่ยนแปลงของเส้นอุปสงค์และการเปลี่ยนแปลง ของเส้นอุปทาน
การเปลี่ยนแปลงของเส้นอุปสงค์และการเปลี่ยนแปลง ของเส้นอุปทาน P2 P1 E1 Q Q 2 S1 ปริมาณ(Q) ราคา(P) S2 D1 D2 E2 เส้นอุปสงค์เปลี่ยนแปลงมากกว่า อุปทานเปลี่ยนแปลง P2 P1 E1 Q Q 2 S1 ปริมาณ(Q) ราคา(P) S2 D1 D2 E2 เส้นอุปทานเปลี่ยนแปลงมากกว่า อุปสงค์เปลี่ยนแปลง

7 การแทรกแซงดุลยภาพของตลาด
1. การเก็บภาษี 2. การกำหนดราคาขั้นสูง 3. การกำหนดราคาขั้นต่ำ

8 การเก็บภาษี ET E0  การเก็บภาษีตามสภาพสินค้าหรือภาษีต่อหน่วยสินค้า ST
 การเก็บภาษีตามสภาพสินค้าหรือภาษีต่อหน่วยสินค้า ราคา(P) ปริมาณ(Q) ST P0 S0 PT Q0 ภาษี ET D E0 ก จากผู้ขาย ราคา(P) ปริมาณ(Q) DT P0 QT PT Q0 D D0 ข. จากผู้ซื้อ

9  การเก็บราคาภาษีตามราคา
ราคา(P) ปริมาณ(Q) ST P0 S PT Q0 ภาษี ก. จากผู้ขาย ราคา(P) ปริมาณ(Q) DT P0 PT Q0 D ข. จากซื้อ

10 การผลักภาระภาษี 1. ผู้ขายผลักภาระภาษีให้ผู้ซื้อทั้งหมด
1. ผู้ขายผลักภาระภาษีให้ผู้ซื้อทั้งหมด 2. ผู้ขายไม่สามารถผลักภาระภาษีได้เลย 3. ผู้ขายสามารถผลักภาระภาษีให้ผู้ซื้อบางส่วน

11 กรณีผู้ขายสามารถผลักภาระภาษีให้ผู้ซื้อทั้งหมด
ราคา ( P) ปริมาณ (Q) S 10 ST 15 100 D F E T= 5

12 กรณีผู้ขายไม่สามารถผลักภาระภาษีให้ผู้ซื้อได้เลย
ราคา ( P) ปริมาณ (Q) S 5 ST 10 D E2 E1 T= 5

13 กรณีผู้ขายสามารถผลักภาระภาษีให้ผู้ซื้อได้บางส่วน
B ราคา ( P) ปริมาณ (Q) S 8 ST 13 D E2 E1 T= 5 10 A

14 การกำหนดราคาสินค้าขั้นสูง
ราคา ( P) ปริมาณ (Q) S PG PE Q Q Q3 D E

15 การกำหนดราคาสินค้าขั้นต่ำ
ราคา ( P) ปริมาณ (Q) S PF PE Q QE Q2 D E


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google