การจัดทำแผนชุมชน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชุมชนน้ำด้วน 1 ร่วมใจ สร้างความปลอดภัยทางถนน
Advertisements

การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การจัดทำแผนบริหารจัดการชุมชน
การประยุกต์ใช้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
งานกลุ่มจัดตั้งและ ส่งเสริมสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน มีนาคม 2552.
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
แจ้งผลการพิจารณาให้ มท./ สศช. / สงป. - พิจารณาอนุมัติโครงการ
การจัดการศึกษาในชุมชน
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
ผู้อำนวยการส่วนพัฒนาและส่งเสริมการบริหารงานท้องที่
ระบบรับรองมาตรฐาน แผนชุมชน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน
ของฝากจากอาจารย์อ้อ ชุดที่ 30
รูปแบบแผนชุมชน.
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน
วิสัยทัศน์ Vision สหกรณ์ที่มีความมั่นคงทาง เศรษฐกิจ สังคม รักษ์สิ่งแวดล้อม นำพาคนสหกรณ์มีความสุข.
กลุ่มสัมมนาผู้ปฏิบัติงาน โครงการ “ ทำดี มีอาชีพ ” กลุ่มที่ ๖ โครงการ “ ทำดี มีอาชีพ ” กับการแก้ปัญหาด้าน ความมั่นคง.
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
สังคม โครงสร้างทางสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มคน จำนวนหนึ่ง ซึ่งมีแบบแผนในการปฏิบัติร่วมกัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน กลุ่มคน หมายถึง.
กลุ่มที่ 1.
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กลุ่มที่ 3 การทำงานร่วมกันระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
จุดประกายความคิด การขับเคลื่อน นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
ระบบส่งเสริมการเกษตร
การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
วิชาวิศวกรรมความรู้ - การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กร
สาระสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
การส่งเสริมครอบครัวแข็งแรงเพื่อเป็นฐานของสังคมตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2557.
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
“”หมู่บ้านเพชรพิจิตร พิชิตงาน อำเภอวชิรบารมี จังหวัดพิจิตร
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สร้างแกนนำหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ปี พฤศจิกายน 2557 โรงแรมเรือนแพ รอยัลปาร์ค พิษณุโลก.
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
สถานการณ์การดำเนินงานวิสาหกิจชุมชน กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบึงหลุมบัว
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม
ผลสัมฤทธิ์ของปราชญ์ : กรณีประเมินผล ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดทำแผนชุมชน

ไร้ความสามัคคี ไร้ระเบียบ เต็มไปด้วยขยะ ทะเลาะเบาะแว้ง

เราจะทำอย่างไร.....ให้หมู่บ้านเราเป็นอย่างนี้ รู้รักสามัคคี เป็นระเบียบเรียบร้อย ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมมือร่วมใจ สมานฉันท์ เราจะทำอย่างไร.....ให้หมู่บ้านเราเป็นอย่างนี้

ร้องเพลงรอ...

ทรัพยากรมากมาย คนก็มีความสามารถ

เมื่อเราก็พร้อม เราก็ทำเองได้

มีแผนในการพัฒนา พึ่งตนเองได้ในที่สุด ทุกคนพร้อมใจต่อสู้ ใช้วิธีสู้เป็นบทเรียนในการพัฒนา มีแผนในการพัฒนา สู้แบบพึ่งตนเอง หวังผลระยะยาว พึ่งตนเองได้ในที่สุด

แก้ปัญหาให้กับหมู่บ้าน ด้วย...... เพราะฉะนั้น....... เราต้องช่วยกันคิด..... “แผนชุมชน” แก้ปัญหาให้กับหมู่บ้าน ด้วย......

“แผนชุมชน” หมายถึง การกำหนดอนาคตและกิจกรรมการพัฒนาของชุมชน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาท้องถิ่นให้เป็นตามที่ต้องการและสามารถแก้ปัญหาที่เผชิญอยู่โดยคนในชุมชน ร่วมคิด ร่วมกำหนดแนวทาง

ประโยชน์ของแผนชุมชน คนในหมู่บ้านได้เรียนรู้ร่วมกัน คนในหมู่บ้านได้เห็นข้อเด่น ข้อดี โอกาส ข้อจำกัดของชุมชน คนในหมู่บ้านมีช่องทางแก้ไขปัญหาของหมู่บ้านอย่างเหมาะสม คนในหมู่บ้านสามารถกำหนดกิจกรรมตอบสนองความต้องการของหมู่บานได้เอง คนในหมู่บ้านสามารถคิดเป็น แก้ปัญหาเป็น สามารถจัดการกับทรัพยากรในหมู่บ้านได้ดี

วิเคราะห์ชุมชน ติดตามประเมินผล ตัดสินใจวางแผน แบ่งปันผลประโยชน์ กระบวนการชุมชน ในการจัดทำแผนชุมชน วิเคราะห์ชุมชน ติดตามประเมินผล ตัดสินใจวางแผน แบ่งปันผลประโยชน์ ดำเนินการ

ผู้จัดทำแผน *กรรมการชุมชน * ผู้ทรงคุณวุฒิในชุมชน * ปราชญ์ชุมชน * ผู้นำกลุ่ม /องค์กรสตรี ฯลฯ

การทบทวนแผนชุมชน สำรวจ/จัดเก็บข้อมูลเพิ่มเติม วิเคราะห์ข้อมูล ระบุปัญหา สาเหตุ กำหนดแนวทางแก้ปัญหา วางแผน (รวบรวมกิจกรรมเป็นแผนของหมู่บ้าน) ดำเนินการตามแผน ติดตามผล สามารถปรับแผนได้ ตามสถานการณ์

ประธานชุมชน คณะกรรมการชุมชน ผู้นำชุมชนประชุม พูดคุย ตัวอย่าง ประธานชุมชน คณะกรรมการชุมชน ผู้นำชุมชนประชุม พูดคุย เสนอปัญหา ความต้องการ ที่ครอบคลุมทั้งชุมชน จัดกลุ่มปัญหา จัดลำดับความสำคัญของปัญหา หาสาเหตุ หาแนวทางแก้ไขปัญหา/กำหนดกิจกรรมแก้ปัญหา

การจัดกลุ่มปัญหา เช่น การจัดกลุ่มปัญหา เช่น ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและคุณภาพชีวิต ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านสาธารณสุข ด้านการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

แผนชุมชน ควรมีอะไรบ้าง กิจกรรมในแผนมีลักษณะ ดังนี้ หมู่บ้านทำเองทั้งหมด แผนชุมชน ควรมีอะไรบ้าง ทำเอง+รัฐ รัฐทำให้ทั้งหมด ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน สภาพปัญหาของหมู่บ้าน(ผลการวิเคราะห์ข้อมูลของชุมชน) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลของชุมชน เป้าหมายการพัฒนาหมู่บ้าน/วิสัยทัศน์ ใน 5 ปี แผนงานโครงการ/กิจกรรมแก้ปัญหาที่ครอบคลุมทุกด้าน

ตัวอย่าง

ข้อมูลทั่วไป ส่วนที่ 1 1.ประวัติความเป็นมา 2.สภาพทั่วไปของหมู่บ้าน 3. อาณาเขต 4.ประชากร /อาชีพ 5. สาธารณูปโภค 6.ข้อมูลกลุ่ม/องค์กร

ปัญหาของชุมชน ปัญหา สภาพปัญหา ส่วนที่ 2 1.ด้านเศรษฐกิจ 2.ด้านสังคม 3.ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 1. รายได้ไม่เพียงพอ 2. ไม่มีเงินทุนในการประกอบอาชีพ 1.คนชราไม่มีผู้เลี้ยงดู 2. 1.ทิ้งขยะไม่เป็นที่ 2.น้ำเสีย

ส่วนที่ 3 ความคาดหวังของประชาชน เป้าหมายการพัฒนาหมู่บ้าน/วิสัยทัศย์ เช่น ประชาชนในหมู่บ้านอยู่อย่างมีความสุข ความสามัคคี อาชีพมั่นคง/รายได้พอเพียงพึ่งตนเองได้ ระยะเวลา 5 ปี

ส่วนที่ 4 แผนชุมชนบ้าน.....................หมู่ที่............... ตำบล...................อำเภอ....................... จังหวัดกาญจนบุรี ที่ ปัญหา โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ หน่วย งาน ดำเนินการ ผลที่คาดว่า จะได้รับ วิธีดำเนินงาน ทำเอง ทำร่วม ทำให้ ระยะ เวลาดำเนินการ หมายเหตุ น้ำเสีย

ภาคผนวก * รายชื่อผู้เข้าร่วมเวทีจัดทำแผนชุมชน * ภาพถ่ายการจัดเวทีประชาคม * รายชื่อแกนนำจัดทำแผนชุมชน

ตัวชี้วัดคุณภาพแผนชุมชน ใช้ข้อมูลพื้นฐาน จปฐ. กชช. 2ค หรือข้อมูล บัญชีรับจ่ายครัวเรือน ร่วมในการวิเคราะห์ ร้อยละ 70 ตัวแทนครัวเรือนในหมู่บ้านมีส่วนร่วมในการจัดทำแผน มากกว่า ร้อยละ 70 สมาชิก อบต.มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนตั้งแต่ต้น มีแผนชุมชนเป็นลายลักษณ์อักษร มีกระบวนการจัดทำแผนชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีกิจกรรมพึ่งตนเอง อย่างน้อย ร้อยละ 30