แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารการจัดการประชุม ให้ประสบความสำเร็จ
Advertisements

๓ ไม่ ๒ มี Road map หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๕ ขั้นที่ ๔
ระบบส่งเสริมการเกษตร
การประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
นโยบาย 1) มีระบบข้อมูลสุขภาพผู้ป่วยในพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน และสามารถเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.กับ รพ.แม่ข่ายได้ 2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการลงทะเบียนที่
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้น พื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
เจ้าภาพหลัก สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
งบหน้าข้อมูลผู้รับเมล็ดพันธุ์ผักพระราชทานฯ
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
การมอบหมายภารกิจผู้นำชุมชน หลังเสร็จสิ้นการฝึกอบรม
การตรวจประเมินเชิงประจักษ์ ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
1 (ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน ) ว่าด้วยการเสนอ และการพิจารณาอนุมัติโครงการ.
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การพิจารณาคำขอรับค่าตอบแทนและอนุมัติให้ได้รับค่าตอบแทนตามระเบียบ ก. พ
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การปฏิบัติตามแนวทางถ่ายโอนภารกิจฯ จังหวัดเพชรบูรณ์ 1
กลุ่มที่ 1.
แนวทางการปฏิบัติงานและพัฒนาส่งเสริมการเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน
การจัดเก็บข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน
กลุ่มที่ 3 การทำงานร่วมกันระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557
การดำเนินงานโครงการ เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ การประเมิน จาก ภายนอก รอบสาม ของ สพป. กาญจนบุรี เขต ๑.
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
สรุปกิจกรรมของผู้นำชุมชนตำบลวงฆ้อง อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก
เอกสารประกอบ การประชุมผู้บริหารกรมป่าไม้ วันอาทิตย์ที่ 2 พฤศจิกายน พ. ศ.2557 ณ จังหวัดตรัง จัดทำโดย สำนักแผนงานและสารสนเทศ กรม ป่าไม้ กรมป่า ไม้
คณะกรรมการพัฒนาวิชาการและงานวิจัย
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
การรับนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๖
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑-๑๘
การส่งเสริมครอบครัวแข็งแรงเพื่อเป็นฐานของสังคมตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2557.
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
ห้วงเวลาดำเนินการเพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีระดับตำบล และระดับจังหวัด 18 ก. พ. – 31 มี. ค. 55 รับลงทะเบียน กศน./ พช. 1 มิ. ย. 55 ประกาศรายชื่อสมาชิกฯ.
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การขับเคลื่อนโครงการ ๑. การขับเคลื่อนโครงการ ใช้กลไกคณะอำนวยการปฏิบัติการขจัด ความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงระดับอำเภอ / ตำบล / หมู่บ้าน.
ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๘ ประชุมคณะกรรมการพัฒนาสตรี จังหวัดพิษณุโลก (กพสจ.)
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
การนำ BCM มายกระดับ ประสิทธิภาพตัวชี้วัด ขั้นที่ ๑ นำเป้าหมายตัวชี้วัดมาตั้งเป็นเป้าหมายสูงสุด ขั้นที่ ๒ วิเคราะห์หาปัจจัยแห่งความสำเร็จที่จะทำให้บรรลุเป้าหมายสูงสุด.
การประชุม คณะกรรมการพัฒนาระบบ ราชการ ของสำนักเลขาธิการ นายกรัฐมนตรี ครั้งที่ ๔ / ๒๕๕๑ วันอังคารที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๒ เวลา ๑๐. ๐๐ น. ณ ห้องประชุมชั้น ๓ ตึก.
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของพัทลุง
กลุ่มวิจัยและพัฒนาสหกรณ์
ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานความก้าวหน้า เทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวคิดและหลักการส่งเสริมการตรวจสุขภาพ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
จำนวนของครัวเรือนยากจนที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ.
การดำเนินงาน หมู่บ้านสารสนเทศต้นแบบ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558 ธวัช พะโยม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ

เป้าหมาย จปฐ. ปี 2558

ทุกครัวเรือนในเขตเมือง ระยะเวลาในการจัดเก็บ พื้นที่เป้าหมาย ในการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน ทุกครัวเรือนในเขตเมือง (ทน./ทม./ทต.ที่ยกฐานะจากสุขาภิบาล) ระยะเวลาในการจัดเก็บ ในระดับครัวเรือน หมู่บ้าน และตำบล ธันวาคม – 31 มกราคม 2558

จัดเก็บและบันทึกประมวลผล ทุกครัวเรือนเสร็จแล้ว จัดเก็บและบันทึกประมวลผล ทุกครัวเรือนเสร็จแล้ว ต้องนำเสนอในที่ประชุมระดับตำบล การจัดส่งข้อมูลพื้นฐาน ทุกระดับ ต้องส่งแบบคำรับรองข้อมูลพื้นฐาน ด้วย ระดับตำบล แบบคำรับรองฯ หมายเลข 1 ระดับอำเภอ แบบคำรับรองฯ หมายเลข 2 ระดับจังหวัด แบบคำรับรองฯ หมายเลข 3

แนวทางการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน 1. เตรียมการและวางแผนการจัดเก็บข้อมูล (ต.ค. – ธ.ค. 57) 1.1 จัดทำ ปรับปรุงคำสั่งคณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ และคณะทำงานติดตามฯ ทุกระดับ (จังหวัด/อำเภอ/ตำบล/หมู่บ้าน) ปี 2558 จังหวัดให้แต่งตั้งคณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับหมู่บ้าน ประกอบด้วย ๑. ประธานคณะกรรมการชุมชน (กช.) หัวหน้าคณะทำงาน ๒. ประธานกลุ่มองค์กรสตรี หรือ ผู้แทน คณะทำงาน ๓. ผู้แทนคณะกรรมการ กทบ. หรือผู้แทนกลุ่มออมทรัพย์ฯ คณะทำงาน ๔. ผู้แทนสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีหมู่บ้าน คณะทำงาน ๕. ผู้แทน อสม. คณะทำงานและเลขานุการ

แนวทางการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน โดยมีหน้าที่ ดังนี้ ๑) สำรวจและจัดทำทะเบียนครัวเรือนทั้งหมดในหมู่บ้าน แล้วจำแนกเป็นครัวเรือนที่อาศัยอยู่จริงในรอบปีที่ผ่านมา ๒) บริหารการจัดเก็บข้อมูล พื้นฐาน ในระดับชุมชน ตามที่คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับ อปท. มอบหมายให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เสร็จทันตามระยะเวลาที่กำหนด ๓) พิจารณาเสนอรายชื่อผู้จัดเก็บข้อมูลฯ (ผู้จัดเก็บ ๑ คนรับผิดชอบจัดเก็บข้อมูลฯ จำนวน ๒๐ ครัวเรือน) เพื่อให้อำเภอจัดทำคำสั่งแต่งตั้ง ๔) นำเสนอผลการจัดเก็บข้อมูลฯ ของหมู่บ้านทุกตัวชี้วัด ต่อเวทีประชาคมหมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน ๕) งานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย

แนวทางการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน 1.2 แต่งตั้งผู้จัดเก็บฯ /ผู้บันทึกข้อมูลฯ 1.3 คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ทุกระดับ ประชุมเตรียมการ วางแผนการบริหารการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน และจัดทำแผนปฏิบัติการฯ ทุกระดับ 1.4 ประชุมชี้แจงผู้จัดเก็บข้อมูลฯ /คัดเลือกหัวหน้าทีมฯ และจัดทำแผน การจัดเก็บข้อมูลฯ ของผู้จัดเก็บฯ 1.5 ฝึกอบรมโปรแกรมบันทึกและประมวลผลข้อมูลพื้นฐาน ให้ผู้บันทึกฯ และจัดทำแผนการบันทึกข้อมูลฯ ของผู้บันทึกฯ

2. จัดเก็บ/บันทึกและประมวลผลข้อมูลฯ (ธ.ค. 2557 – ก.พ. 2558) 2.1 เริ่มจัดเก็บข้อมูลฯ เดือน ธันวาคม 2557 1) จัด D-Day การจัดเก็บข้อมูลฯ ในช่วงสัปดาห์รณรงค์การจัดเก็บข้อมูลฯ (๓-๙ ธันวาคม ๒๕๕๗) 2) ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลทุกครัวเรือน ให้แล้วเสร็จภายใน ๓๑ มกราคม ๒๕๕๘ 3) หัวหน้าทีมผู้จัดเก็บฯ ของชุมชน รวบรวมแบบสอบถามทั้งหมดส่งให้นักพัฒนาชุมชน/ผู้บันทึกข้อมูลฯ

2.2 บันทึกประมวลผล และนำเสนอระดับตำบล 1) ผู้บันทึกฯ บันทึกและประมวลผลข้อมูลฯ ทุกครัวเรือน และตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน ภายในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2558 2) พัฒนากร และผู้บันทึกข้อมูลฯ นำเสนอผลข้อมูลฯ ต่อที่ประชุมระดับอปท. เพื่อรับทราบและร่วมตรวจสอบ/ปรับปรุง/แก้ไข/ยืนยันผลการจัดเก็บข้อมูลฯ นำไปใช้ประโยชน์และสำเนาข้อมูลทั้งหมด ส่งให้อำเภอ พร้อมคำรับรองข้อมูลฯ หมายเลข1 ภายในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558 3) นักพัฒนาชุมชน และ หัวหน้าทีมฯ ผู้จัดเก็บ นำผลข้อมูลกรองลงในโปสเตอร์สรุปผลข้อมูลพื้นฐาน ระดับชุมชน เพื่อนำไปติดไว้ที่ชุมชน

3. ติดตาม ตรวจสอบ และประมวลผลข้อมูล 3.1 อำเภอ ติดตามตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วน และประมวลผลข้อมูลฯ เป็นภาพรวมของอำเภอ แล้วสำเนาข้อมูลทั้งหมดส่งให้จังหวัด และคำรับรองฯ หมายเลข 2 ภายใน 28 ก.พ. 2558 3.2 จังหวัด ติดตามตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วน และประมวลผลข้อมูลฯ เป็นภาพรวมของจังหวัด แล้วสำเนาข้อมูลทั้งหมดส่งให้กรมฯ และคำรับรองฯ หมายเลข 3 ภายใน 15 มี.ค. 2558 4. รายงานผลความก้าวหน้าในการจัดเก็บ และการบันทึกข้อมูลฯ รายงานแบบ Online Real Time ได้ตลอดทุกวัน/เวลา ผ่านทางเว็บไซต์ สพจ.พิษณุโลก http://phitsanulok.cdd.go.th

งบประมาณที่กรมฯ สนับสนุนจังหวัด/อำเภอ 1) ค่าบันทึกและประมวลผลข้อมูลฯ (เล่มละ 6 บาท) 2) ค่าประชุมชี้แจงผู้จัดเก็บฯ (1 คน : 20 คร.) 3) ฝึกอบรมผู้บันทึกข้อมูลฯ (อปท. ละ 1 คน) 4) งบฯ ติดตามนิเทศ จปฐ. ระดับจังหวัด 5) งบฯ ติดตามนิเทศ จปฐ. ระดับอำเภอ 6) ประชุมคณะทำงานบริหารจัดเก็บฯระดับจังหวัด 7) นำเสนอผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตฯระดับ อปท. 8) นำเสนอผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตฯระดับจังหวัด

กลุ่มงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพิษณุโลก สวัสดี กลุ่มงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพิษณุโลก