โดย นางสาวพอใจ สาธุการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Advertisements

การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
ความพึงพอใจของผู้ประกอบการและ หัวหน้าหน่วยงานรัฐบาลต่อผู้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนอุตรดิตถ์เทคโนโลยี นางรัตดา บัวใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
นางสาวพรศิริ กลิ่นบำรุง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภ์ ฯ
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่อง กระดาษทำการ 8 ช่อง ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ผู้วิจัย อาจารย์กัมพล ติปิน วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย
การเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนา
ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2556 นางสาวกรรณิการ์ นัยผ่องศรี
ผู้วิจัย นายไพบูลย์ ว่องวารี
แก้ปัญหาพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการส่งงานโดยใช้หลักไตรสิกขา

จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.

วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาววาสนา เก่าพิมาย

นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
นางสุพัณณรัฎฐ์ ประชานิยม วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
การพัฒนาเกมซ่อนคำศัพท์ภาษาอังกฤษมหาสนุก

การศึกษาเจตคติต่อวิชาการเลขานุการ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การนำเสนอผลงานวิจัย โดย : นายเอกพงษ์ วรผล.
ผลงานวิจัย โดย อ.เอกพงษ์ วรผล.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา
การพัฒนาทักษะพื้นฐานเบื้องต้นในการแกะสลักผักและผลไม้แบบร่วมมือกันของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาการโรงแรม ผู้วิจัย : นางสาวรุ่งราตรี
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
บทความวิจัย เรื่อง การศึกษาจริยธรรมที่พึงประสงค์ของนักศึกษา
ผู้วิจัย นาง นิภารัตน์ ทองโคตร กลุ่มวิชาพื้นฐาน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาวสุฑารัตน์ ตั้งถาวร โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
การแก้ปัญหาการขาดเรียน ในรายวิชาโครงการ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี
การแก้ไขพฤติกรรมการแต่งกาย

ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง ศึกษาผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ การเขียน เรื่องชนิดของคำ วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (สยามเทค) กรุงเทพมหานคร
การแก้ปัญหานักศึกษามาไม่ทันเรียน คาบแรกในรายวิชาการโฆษณา ด้วย วิธีการให้แต้ม สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.2) สาขาวิชาการตลาด ภาคเรียนที่
อาจารย์นริสรา คลองขุด
เรื่อง การพัฒนาทักษะการติดตั้งระบบเครือข่ายโดยใช้โปรแกรม VMware 8.0
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
การพัฒนาพฤติกรรมการกล้าเสดงออก โดยใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติ ในรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 แผนกการตลาด.
นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน

ผู้วิจัย ลัดดา เสาร์เป็ง
อาจารย์ชรินทร ชะเอมเทส
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย นางสาวพอใจ สาธุการ การพัฒนาเสริมสร้างการมีวินัยของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาการตลาด กลุ่ม 6101 วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ์ฯ โดย นางสาวพอใจ สาธุการ

ความสำคัญและความเป็นมาของปัญหา สังคมไทยยุคปัจจุบันประสบภาวะปัญหาความแตกแยก ผู้คนขาด ระเบียบวินัย ขาดความรับผิดชอบ ทำให้เกิดความวุ่นวาย ดังนั้น การที่ จะทำให้สังคมเราอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุขคนในสังคมต้องยึดถือ ปฏิบัติตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ที่สังคมกำหนดขึ้น ควบคู่กับความมี ระเบียบวินัย ซึ่งการสร้างระเบียบวินัยในสังคมจึงจำเป็นต้อง วางรากฐานให้กับเยาวชน โดยเฉพาะกลุ่มนักศึกษาในวิทยาลัย ซึ่งกำลัง จะก้าวออกไปรับผิดชอบต่อสังคมและประเทศชาติ นักศึกษาจึงควร ได้รับการปลูกฝังให้เกิดการเรียนรู้แนวทางในการปฏิบัติ เพราะวินัย เปรียบได้กับหลักธรรมที่คอยควบคุมจิตใจของมนุษย์ให้รู้จักรับผิดชอบ ชั่วดี และรู้จักประพฤติปฏิบัติตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมและ ประเทศชาติโดยรวม

วัตถุประสงค์ เพื่อการพัฒนาเสริมสร้างการมีวินัยของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาการตลาด กลุ่ม 6101 วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ์ฯ ในด้านความ รับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม

กรอบแนวคิดในการวิจัย การพัฒนาเสริมสร้างการมีวินัยของนักศึกษา เทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ์ฯ ด้านความรับผิดชอบต่อตนเอง ด้านความรับผิดชอบต่อส่วนรวม การพัฒนาเสริมสร้างการมีวินัย การสอดแทรกความรับผิดชอบ ในวิชาเรียน การจัดกิจกรรมเสริมสร้างโดยติดประกาศการแต่งกายในห้องเรียน ติดตามประเมินผล การปรับปรุงกระบวนการเรียนการ สอน

การวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ ก่อนการสอน หลังการสอน ลำดับที่ ด้าน/ตัวบ่งชี้ ค่าเฉลี่ย S.D. การแปลผล 1 ด้านความมีวินัยต่อตนเอง 1.1 แต่งกายถูกต้อง ปฏิบัติตามข้อตกลง 2.0 0.85 น้อย 4.50 0.84 มาก 1.2 ตรงต่อเวลา 1.5 0.91 น้อยมาก 3.45 ปานกลาง 1.3 ทำงานที่อาจารย์มอบ หมายด้วยความถูกต้อง ใส่ใจละเอียดรอบคอบ 2.2 0.83 2.80 0.81 1.4 ประพฤติตนถูกต้องตามศีลธรรมอันดี 3.0 0.82 3.60 0.80 รวม 2.17 3.59

สรุปผลการวิจัย (ก่อนการวิจัย) ค่าเฉลี่ยก่อนการสอนพบว่า คะแนนความมีวินัยใน ตนเองด้านการแต่งกายถูกต้อง ปฏิบัติตามข้อตกลง มี ค่าเฉลี่ย น้อย การตรงต่อเวลา น้อยมาก ทำงานที่อาจารย์ มอบหมายด้วยความถูกต้อง ใส่ใจ ละเอียดรอบคอบ น้อย ประพฤติตนถูกต้องตามศีลธรรมอันดี ปานกลาง เข้าร่วม กิจกรรมของวิทยาลัยฯ ปานกลาง รักษาความสะอาดและ อุปกรณ์ของห้องเรียน สาธารณสมบัติ สิ่งแวดล้อม ปาน กลาง มีน้ำใจช่วยเหลือผู้อื่น ช่วยเหลืองานของห้อง ปาน กลาง

ก่อนการสอน หลังการสอน ลำดับที่ ด้าน/ตัวบ่งชี้ ค่าเฉลี่ย S.D. การแปลผล 2 ด้านความมีวินัยต่อส่วนรวม 2.1 ปฏิบัติตามกฎระเบียบของวิทยาลัยฯ 2.6 0.85 ปานกลาง 4.20 0.82 มาก 2.2 เข้าร่วมกิจกรรมของวิทยาลัยฯ 2.5 0.83 4.46 0.86 2.3 รักษาความสะอาด และอุปกรณ์ของห้องเรียน สาธารณสมบัติ สิ่งแวดล้อม 3.0 4.50 0.90 2.4 มีน้ำใจ ช่วยเหลือผู้อื่น ช่วยงานของห้อง 2.8 0.89 รวม 2.72 0.84 4,42 ค่าเฉลี่ยรวม 2.45 4.00

สรุปผลการวิจัย (หลังการวิจัย) ค่าเฉลี่ยหลังการสอนพบว่า คะแนนความมีวินัยในตนเองด้านการแต่งกายถูกต้อง ปฏิบัติตามข้อตกลง มีค่าเฉลี่ย มาก การตรงต่อเวลา ปานกลาง ทำงานที่อาจารย์มอบหมายด้วยความถูกต้อง ใส่ใจ ละเอียดรอบคอบ มาก ประพฤติตนถูกต้องตามศีลธรรมอันดี มาก เข้าร่วมกิจกรรมของวิทยาลัยฯ มาก รักษาความสะอาดและอุปกรณ์ของห้องเรียน สาธารณสมบัติ สิ่งแวดล้อม มาก มีน้ำใจช่วยเหลือผู้อื่น ช่วยเหลืองานของห้อง มาก

ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ 1. การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างความมีวินัยของนักศึกษาโดยการสอนที่สอดแทรกคุณธรรมนั้น ควรมีการติดตามและประเมินอย่างต่อเนื่องจึงจะมีประสิทธิภาพ 2. ในการสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมเพื่อเสริมสร้างความมีวินัยของนักศึกษาควรศึกษาอย่างต่อเนื่องไม่เฉพาะนักศึกษาปีที่ 1 หรือชั้นปีใดชั้นปีหนึ่งเท่านั้น ข้อเสนอแนะในการการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรมีการจัดรูปแบบการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมเพื่อสร้างเสริมความมีวินัยของนักศึกษาให้หลากหลาย 2. ในการจัดกิจกรรมนั้นๆ ควรให้นักศึกษาเข้ามามีส่วนร่วมโดยสมัครใจ ซึ่งจะเป็นการเสริมสร้างวินัยแก่นักศึกษาอย่างถาวร