ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร บทที่ 7 ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร (Cooperate Social Responsibility: CSR ) ความสำคัญ 3 ประการของการปรับเปลี่ยนแนวคิด 1. บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ (Constitution) 2. กระแสความสนใจของสังคมในเรื่อง (สีเขียว) (Climate) 3. ความตกลงการเปิดเสรีการค้า (Commerce)
ธรรมาภิบาลสีเขียว ( Green Governance ) สถาบันไทยพัฒน์ได้จำแนกกลยุทธ์น่านน้ำเขียวออกเป็น 2 ส่วน * เรื่องของระบบที่กำกับดูแลด้วยธรรมาภิบาล (Green Governance ) * เรื่องของคนที่ปลูกฝั่งด้วยอุปนิสัยสีเขียว (Green Habits )
Green Governance (ธรรมาภิบาลสีเขียว) เป็นทางเลือกและแนวปฏิบัติของธรรมาภิบาลสีเขียว สามารถจำแนกออกได้เป็น 3 หมวดใหญ่ๆได้แก่ Resource Efficiency Product Effectiveness Process Accountability ประสิทธิภาพ ในการใช้ทรัพยากร ภาระรับผิดชอบ ในกระบวนการ ประสิทธิผล ในตัวผลิตภัณฑ์
7 Green Habits อุปนิสัยสีเขียว ประกอบไปด้วย 1.Rethink คือ ความเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อเรามีความคิดที่จะ เปลี่ยนแปลงด้วยตนเอง 2.Reduce คือ โลกร้อนเพราะเราเผาผลาญทรัพยากรเกินขีดจำกัดที่ ธรรมชาติจะหมุนเวียนได้ทัน 3.Reuse คือ สำรวจของที่ซื้อมาแล้วเพิ่งใช้เพียงหนเดียวว่าสามารถใช้ประโยชน์ ซ้ำได้หรือไม่ 4.Recycle คือ เป็นการนำวัสดุที่หมดสภาพหรือที่ใช้แล้วมาปรับสภาพเพื่อนำมา ใช้ใหม่
5.Recondition คือ ของหลายอย่างสามารถซ่อมแซมแล้วนำกลับมาใช้ใหม่ ได้ดังเดิม 6.Refuse คือ การปฏิเสธเป็นช่องทางหนึ่งที่ช่วยอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ที่มีอยู่อย่างจำกัด 7.Return คือ การตอบแทนคืนแก่โลก ใครที่ใช้ทรัพยากรจากธรรมชาติประเภท ใดเยอะ ก็ต้องคืนทรัพยากรประเภทนั้นกลับให้มากๆ
มาตรฐาน ISO 26000 เป็นมาตรฐานที่มีความสำคัญมากในประเทศไทย มีการแบ่งถึงหัวข้อความรับผิดชอบต่อสังคมไว้ 7 เรื่อง คือ การกำกับดูแลองค์การ ( Organizational Governance ) สิทธิมนุษยชน ( Human Rights ) การปฏิบัติด้านแรงงาน ( Labour Practices ) สิ่งแวดล้อม ( The Environment ) การปฏิบัติดำเนินงานอย่างเป็นธรรม ( Fair Operating Practices ) ประเด็นด้านผู้บริโภค ( Consumer Issues ) การมีส่วนร่วมและพัฒนาชุมชน ( Community Involvement and Development )
แนวทางการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม โดยมีแนวโน้มและทิศทางดังนี้ ธุรกิจจะพัฒนาเรื่องความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จากการทำเพื่อลดต้นทุนมาสู่ การสร้างการเติบโตไต่ขั้นธุรกิจ GREENER การให้และการอาสาช่วยเหลือสังคมในรูปแบบ PRO BONOENGAGEMENT จะเป็นทางเลือกของธุรกิจที่มุ่งประสิทธิภาพในกิจกรรมเพื่อสังคมขององค์กร รายงาน CSR จะพัฒนารวบรวมความเคลื่อนไหวการดำเนินกิจกรรม CSR เป็นการรายงานผลการดำเนินงาน CSR ในบริบทของการพัฒนาที่ยั่งยืนมากขึ้น
วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในสายอุปทาน จะถูกผลักดันให้ทำ CSR เพื่อรักษาสถานะของการเป็นผู้ส่งมอบ ( Suppliers ) หรือผู้ค้า ( Dealers ) ในระบบต่อไป 5. สื่อสังคมออนไลน์ จะแผ่อิทธิพลสู่การดำเนินงาน CSR ขององค์การ นอกเหนือ จากการใช้เพื่อส่งเสริมการขาย สร้างภาพลักษณ์และกระชับความสัมพันธ์กับลูกค้า ผู้บริโภคจะต้องเรียนรู้และรับมือกับธุรกิจ ( ฟอก ) เขียวที่ใช้วิธีโฆษณาชวน เชื่อผลิตภัณฑ์และองค์การ ตามกระแสสิ่งแวดล้อมที่เติบโตขึ้น