น้ำแร่ น.ส.มิ่งขวัญ เครือจันต๊ะ 4405043 น.ส.ปิยะภรณ์ สอนใจ 4405362
ความหมายของ”น้ำแร่ธรรมชาติ”
การเดินทางของน้ำแร่ธรรมชาติใต้ดิน ต้นกำเนิดน้ำแร่ธรรมชาติ การไหลซึมและการดูดซับแร่ธาตุต่างๆ การปรากฏตัวของน้ำแร่ธรรมชาติ การใช้ประโยชน์จากน้ำแร่
การผลิตน้ำแร่ธรรมชาติ การปรับปริมาณก๊าซที่มีอยู่ในน้ำแร่ธรรมชาติ การกำจัดสารประกอบที่ไม่คงตัว โดยวิธีการทำให้ตกตะกอน โดยวิธีการกรอง
ภาพแสดงการผลิตน้ำแร่ซึ่งต้องขุดเจาะน้ำแร่ผ่านชั้นดินชั้นหินต่าง ๆ
ประโยชน์ของน้ำแร่ธรรมชาติ แคลเซียม แมกนีเซียม โปตัสเซียม โซเดียม ฟลูออไรด์ ไบคาร์บอเนต ซัลเฟต
แหล่งน้ำแร่บางแห่งที่สำคัญในประเทศไทย ต.โป่งแยง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ ต.พระงาม อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี ต.โพธิ์สามต้น อ.บางประหัน จ.อยุธยา ต.พบพระ อ.พบพระ จ.ตาก
มาตรฐานของน้ำแร่ธรรมชาติ ใส ไม่มีตะกอน แร่ธาตุที่มีอยู่ในน้ำแร่ธรรมชาติ ต้องมีปริมาณที่ไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย ดังต่อไปนี้ ทองแดง ไม่เกิน 1 มก/ล แมงกานีส ไม่เกิน 2 มก/ล บอเรต โดยคำนวณเป็น โบรอน ไม่เกิน 5 มก/ล แบเรียม ไม่เกิน 1 มก/ล แคดเมียม ไม่เกิน 0.003 มก/ล
โครเมียม โดยคำนวณเป็น โครเมียมทั้งหมด ไม่เกิน 0.05 มก/ล ตะกั่ว ไม่เกิน 0.01 มก/ล ปรอท ไม่เกิน 0.001 มก/ล ซิลิเนียม ไม่เกิน 0.05 มก/ล ไนเตรต โดยคำนวณเป็น ไนเตรต ไม่เกิน 50 มก/ล พลวง ไม่เกิน 0.005 มก/ล นิกเกิล ไม่เกิน 0.02 มก/ล
ตรวจพบสารปนเปื้อนได้ไม่เกินที่กำหนด ดังต่อไปนี้ ไซยาไนด์ ไม่เกิน 0.07 มก/ล ไนไตรต์ โดยคำนวณเป็น ไนไตรต์ ไม่เกิน 0.02 มก/ล ไม่พบสารกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ ไม่พบโพลีคอลิเนตเตตไบฟีนอล ไม่พบสารลดการตึงผิว ไม่พบน้ำมันแร่ ไม่พบโพลีนิวเคลียร์อะโรเมติกไฮโดรคาร์บอน
คุณสมบัติทางจุลินทรีย์ ตรวจพบแบคทีเรียชนิดโคลิฟอร์ม น้อยกว่า 2.2 ต่อน้ำแร่ธรรมชาติ 100 มล โดยวิธีเอ็มพีเอ็น ตรวจไมพบแบคทีเรียชนิดอีโคไล ไม่มีจุลินทรีย์ทำให้เกิดโรค ที่มา : ประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 199 (พ.ศ. 2543)