งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
ฉลากอาหาร ชัญญานุช ปานนิล นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6

2 ฉลากอาหาร คือ ข้อมูลคุณค่าทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์อาหาร
ส่วนที่ 1 หน่วยบริโภค และ จำนวนหน่วยบริโภค ส่วนที่ 2 ช่วงที่ 1 คุณค่าทางโภชนาการและพลังงาน ช่วงที่ 2 ปริมาณสารอาหาร และร้อยละ ช่วงที่ 3 ปริมาณวิตามินและเกลือแร่ ส่วนที่ 3 สารอาหารต่างๆ ต่อพลังงาน 2000 กิโลแคลอรี่

3

4 ส่วนที่ 1

5 ตัวอย่างส่วนที่ 1 หนึ่งหน่วยบริโภค :1 แท่ง ( 50 กรัม)
กินครั้งละ 1 แท่ง ตัวอย่างส่วนที่ 1 ข้อมูลโภชนาการ หนึ่งหน่วยบริโภค :1 แท่ง ( 50 กรัม) จำนวนหน่วยบริโภคต่อ แท่ง : 1

6 ตัวอย่างส่วนที่ 1 หนึ่งหน่วยบริโภค :1 ห่อ ( 50 กรัม)
ข้อมูลโภชนาการ หนึ่งหน่วยบริโภค :1 ห่อ ( 50 กรัม) จำนวนหน่วยบริโภคต่อ ห่อ : 5 ในหนึ่งซองต้องแบ่งรับประทาน 5 ครั้ง

7 ส่วนที่ ช่วงที่ 1

8 ตัวอย่างส่วนที่ 2 ช่วงที่ 1
ตัวอย่างส่วนที่ 2 ช่วงที่ 1 คุณค่าทางโภชนาการต่อหนึ่งหน่วยบริโภค พลังงานทั้งหมด กิโลแคลอรี่ (พลังงานจากไขมัน 45 กิโลแคลอรี่ )

9 ส่วนที่ 2 ช่วงที่ 2

10 ตัวอย่าง ส่วนที่ 2 ช่วงที่ 2
ตัวอย่าง ส่วนที่ 2 ช่วงที่ 2 ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน* ไขมันทั้งหมด ก % ไขมันอิ่มตัว ก % โคเลสเตอรอล 0 มก % โปรตีน ก. คาร์โบไฮเดรตทั้งหมด 36 ก % ใยอาหาร ก % น้ำตาล ก. โซเดียม มก %

11 ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน*
ตัวอย่างส่วนที่ 2 ช่วงที่ 2 สารอาหารที่น้อยกว่าร้อยละ5 จัดว่า “ต่ำ” *สารอาหารที่ค่าร้อยละ20 ขึ้นไปจัดว่า ”สูง” ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน* ไขมันทั้งหมด ก % ไขมันอิ่มตัว ก % โคเลสเตอรอล 0 มก % โปรตีน ก. คาร์โบไฮเดรตทั้งหมด 36 ก % ใยอาหาร ก % น้ำตาล ก. โซเดียม มก % จำกัด สารอาหาร เหล่านี้ เพราะ ไม่ดีต่อ สุขภาพ ใน 1 วัน ไม่ควรกิน น้ำตาลเกิน 24 กรัม

12 ส่วนที่ 2 ช่วงที่ 3

13 ตัวอย่าง ส่วนที่ 2 ช่วงที่ 3

14 ส่วนที่ 3

15 ฉลากอาหาร แบบ GDA

16 สัญลักษณ์ทางโภชนาการแบบ GDA
บนฉลากด้านหน้าบรรจุภัณฑ์ โดยแสดงปริมาณ สารอาหารต่อหน่วยบรรจุภัณฑ์ เช่น ซอง ถุง กล่อง

17 ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข
อาหาร 5 ชนิด มันฝรั่งทอดกรอบหรืออบกรอบ 2. ข้าวโพดคั่วหรืออบกรอบ 3. ข้าวเกรียบหรืออาหารขบเคี้ยวชนิดอบพอง 4. ขนมปังกรอบหรือแครกเกอร์หรือบิสกิต 5. เวเฟอร์สอดไส้

18 ประกาศฉบับนี้ บังคับใช้ ตั้งแต่
วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ.2554 และให้ใช้ฉลากเดิมที่เหลืออยู่ต่อไปได้ ไม่เกินวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ.2555

19 สัญลักษณ์ทางโภชนาการแบบ GDA
แสดงไว้ด้านหน้าบรรจุภัณฑ์

20 สัญลักษณ์ทางโภชนาการแบบ GDA
หน่วยบรรจุภัณฑ์ เช่น กล่อง ซอง ห่อ แสดงจำนวนครั้งที่แนะนำให้กิน ช่วงที่ 1 แสดงข้อความ ช่วงที่ 2 แสดงปริมาณ ช่วงที่ 3 แสดงร้อยละ

21 สัญลักษณ์ทางโภชนาการแบบ GDA
* ค่าพลังงานเป็นกิโลแคลอรี * คิดเป็นร้อยละเทียบกับพลังงาน 2,000 กิโลแคลอรี • ปริมาณน้ำตาล ไขมัน เป็นกรัม และโซเดียมเป็นมิลลิกรัม •แสดงร้อยละโดยคิดเป็นร้อยละของปริมาณสูงสุดที่บริโภค ได้ต่อวัน

22 สัญลักษณ์ทางโภชนาการแบบ GDA
60 6 30 0.5 3 9 1 1

23 สัญลักษณ์ทางโภชนาการแบบ GDA

24 การคำนวณปริมาณน้ำตาล
ใน 1 วัน ไม่ควรบริโภคน้ำตาลเกิน 24 กรัม น้ำตาล 4 กรัม = 1 ช้อนชา น้ำตาล 24 กรัม = 24 = 6 ช้อนชา 4

25 อาหารที่มีโซเดียม อาหารธรรมชาติ 2. อาหารแปรรูปหรือการถนอมอาหาร
3. เครื่องปรุงรสชนิดต่างๆ 4. ผงชูรส 5. อาหารกระป๋องต่างๆ 6. อาหารกึ่งสำเร็จรูป 7. ขนมต่างๆ ที่มีการเติมผงฟู 8. น้ำและเครื่องดื่ม

26 การคำนวณปริมาณโซเดียม
โซเดียม (กรัม) = มิลลิกรัม (มก.) 400 2,400 = เกลือแกง 6 กรัม 400 เกลือแกง 5 กรัม = 1 ช้อนชา เกลือแกง 1 ช้อนชา มีโซเดียม 2,000 มก. ใน 1 วันควรบริโภคโซเดียม น้อยกว่า 2,400 มก.

27 การคำนวณปริมาณน้ำมัน
ใน 1 วัน ไม่ควรบริโภคน้ำมันเกิน 30 กรัม น้ำมัน กรัม = 1 ช้อนชา น้ำมัน กรัม = 30 = 6 ช้อนชา 5

28 การคำนวณปริมาณแอลกอฮอล์
ปริมาตร(ซีซี) x เปอร์เซ็นต์แอลกอฮอล์ x 7 100 พลังงาน =……….Kcal. เหล้าขาว 1 ขวดเล็ก ปริมาตร 450 ซีซี(40%) 450 (ซีซี) x 40 x 7 100 พลังงาน = Kcal. แอลกอฮอล์ 1 กรัม ให้พลังงาน 7 กิโลแคลอรี่

29 Thank you


ดาวน์โหลด ppt นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google