งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผู้สอน: อ.วิจิตต์ วรรณชิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผู้สอน: อ.วิจิตต์ วรรณชิต"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผู้สอน: อ.วิจิตต์ วรรณชิต
หัวข้อการสอนวิชาหลักการกสิกรรม( ) “ปุ๋ยและการให้ปุ๋ย” ผู้สอน: อ.วิจิตต์ วรรณชิต

2 ความหมาย ปุ๋ย (Fertilizer) หมายถึงวัตถุหรือสารที่ให้ธาตุอาหารไนโตรเจน
ฟอสฟอรัส โปตัสเซียม และธาตุอาหารอื่นๆแก่พืช เพื่อใช้ใน การเจริญเติบโตให้เป็นไปตามปกติ ธาตุอาหารที่พืชต้องการในประมาณมาก(Macronutrients) ได้แก่ N P K Ca Mg S ธาตุอาหารพืชต้อการในปริมาณน้อย(Micronutrients) ได้แก่ Fe Zn Mn Cu B Mo Cl Si Na Co

3 ปริมาณธาตุอาหารที่ข้าวสาลีดึงออกจากดินใน1ฤดูกาลปลูก(ก.ก./เฮกแตร์)

4

5 เมื่อปลูกพืชลงไปในดินแล้วจะให้พืชเจริญเติบโตและให้ผลผลิตได้ดีจะต้อง
ให้น้ำ ให้ปุ๋ย ป้องกันกำจัดศัตรูพืช ดูแลผลผลิตก่อนและหลังการเก็บเกี่ยวให้ดี

6 ประเภทของปุ๋ย 1. แยกตามสารประกอบที่ใช้เป็นวัสดุปุ๋ย 1.1 ปุ๋ยอินทรีย์
(organic fertilizer) 1.2 ปุ๋ยอนินทรีย์ (inorganic fertilizer)

7 2. แยกตามแหล่งกำเนิดหรือที่มาของปุ๋ย
2.1 ปุ๋ยธรรมชาติ (natural fertilizer) 2.2 ปุ๋ยสังเคราะห์ (synthetic fertilizer)

8 3.แยกตามธาตุอาหารปุ๋ย 3.1 ปุ๋ยไนโตรเจน (nitrogen fertilizer)
3.2 ปุ๋ยฟอสฟอรัส (phosphorus fertilizer) 3.3 ปุ๋ยโปตัสเซียม (potasium fertilizer)

9 4. แยกตามเกรดปุ๋ย(Fertilizer grade)
4.1 ปุ๋ยเกรดต่ำ(low grade fertilizer) ปริมาณ N, P2O5 , K2O แต่ละอย่างหรือรวมกันหมดแล้วต่ำกว่า 15 % 4.2 ปุ๋ยเกรดปานกลาง(medium grade fertilezer) ปริมาณ N, P2O5 , K2O แต่ละอย่างหรือ รวมกันหมดแล้ว อยู่ระหว่าง % 4.3 ปุ๋ยเกรดสูง(high grade fertilizer) ปริมาณ N, P2O5 , K2O แต่ละอย่าง หรือรวมกันหมดแล้ว อยู่ระหว่าง % 4.4 ปุ๋ยเกรดเข้มข้น(concentrated fertilizer) ปริมาณ N, P2O5 , K2O แต่ละอย่าง หรือรวมกันหมดแล้ว มากกว่า 30% เกรดปู๋ย: ตัวเลขสามจำนวนเรียงกันซึ่งบอกปริมาณธาตุอาหาร(N, P2O5 , K2O)ในปุ๋ย และรับ รองว่าจะมีไม่น้อยกว่านี้ มักใช้คำว่า สูตรปุ๋ย(Fertilizer analysis)ในความหมายเดียวกับเกรดปุ๋ย

10 หลักการให้ปุ๋ยแก่พืช
1. พิจารณาลักษณะดิน เช่นเนื้อดิน 2. พิจารณาลักษณะการปลูกพืช 3. พิจารณาระยะการเจริญเติบโตของพืช 4. พิจารณาปุ๋ยและการให้น้ำทำละลาย ปุ๋ย ปุ๋ยละลายช้า(Slow released fertilizer) มีหลายกรณีที่อาจให้ปุ๋ยทางใบเสริมการใส่ปุ๋ยให้ทางดิน:ปุ๋ยเกล็ด,ปุ๋ยน้ำหรือปุ๋ยเหลว การให้ปุ๋ยไปกับน้ำชลประทาน เรียกว่า “Fertigation”

11 วิธีการให้ปุ๋ยแก่พืช
Osmocote การหว่านปุ๋ยในนาข้าว (broadcast application) การโรยปุ๋ยตามแถวข้าวโพด (band application)

12 การหยอดปุ๋ยในหลุมระหว่างต้นยางพารา (hole application)
การโรยปุ๋ยรอบทรงพุ่มเงาะ (ring application) การฉีดพ่นปุ๋ยใบให้ไม้ประดับ (foliar application)

13

14


ดาวน์โหลด ppt ผู้สอน: อ.วิจิตต์ วรรณชิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google