งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต
ความสำคัญของการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย ศิริกุล ศรีแสงจันทร์ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต สสข.5 สงขลา

2 ความหมาย “ ผักปลอดสารพิษ ” หมายถึง ผักที่มีระบบการผลิตที่ไม่มี
การใช้สารเคมีในการป้องกันและกำจัดศัตรูรวมทั้งไม่ใช้ ปุ๋ยเคมีเพื่อการเจริญเติบโตของพืชผัก “ ผักปลอดภัยจากสารพิษ ” หมายถึง ผักที่มีระบบการผลิต ที่มีการใช้สารเคมีในการป้องกันและกำจัดศัตรูพืช รวมทั้ง ใช้ปุ๋ยเคมีเพื่อการเจริญเติบโต โดยผลผลิตที่ได้ไม่มีพิษ ตกค้างอยู่หรือมีสารพิษตกค้างอยู่แต่จะต้องไม่เกินระดับ มาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้ในประกาศ กระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 163 พ.ศ.2538 ลงวันที่ 28 เมษายน 2538

3 จำนวนประชากรของโลก ตั้งแต่ปี 2504-2554
(ล้านคน)

4 สิบอันดับแรกที่ประเทศมีประชากรมากที่สุด
(ล้านคน) อันดับ สิบอันดับแรกที่ประเทศมีประชากรมากที่สุด 1990 2008 2025* 1 จีน 1,141 1,333 1,458 2 India 849 1,140 1,398 3 United States 250 304 352 4 Indonesia 178 228 273 5 Brazil 150 192 223 6 Pakistan 108 166 226 7 Bangladesh 116 160 198 8 Nigeria 94 151 208 9 Russia 148 142 137 10 Japan 124 128 126 จำนวนทั้งหมดของโลก 5,265 6,688 8,004

5 จำนวนประชากรของไทย ตั้งแต่ปี 2535-2555
(ล้านคน)

6 พื้นที่ปลูกผักของโลก ตั้งแต่ปี 1961-2011
(ล้านเฮกแตร์)

7 พื้นที่ปลูกผักของไทย ตั้งแต่ปี 1961-2011

8 ปริมาณการนำเข้าสารเคมีของไทย ตั้งแต่ปี 2548-2552
ล้านตัน

9 ปริมาณการผลิต/นำเข้าสารเคมีของไทย ตั้งแต่ปี 2540-2550
(ล้านตัน)

10

11 สิ่งมีพิษที่ปนเปื้อนในอาหาร
 จุลินทรีย์ ได้แก่ ไวรัส แบคทีเรีย ยีสต์ รา สาหร่าย สัตว์เซลล์เดียว  สารชีวพิษ ได้แก่ แพลงก์ตอน  สารพิษจากเชื้อรา ได้แก่ อะฟาท็อกซิน บี 1  สารกำจัดศัตรูพืช ได้แก่ สารกำจัดวัชพืช แมลง โรค สัตว์ศัตรู ฮอร์โมน  โลหะหนัก ได้แก่ ตะกั่ว ปรอท แคดเมียม ดีบุก สารหนู สังกะสี ทองแดง กลุ่มสาร PCBs ใช้เป็นสารหล่อลื่นเครื่องจักรและในหม้อแปลงไฟฟ้า  ใช้ผสมหมึก สี และใช้ในการทำกระดาษสำเนาชนิดไม่ต้องใส่กระดาษคาร์บอน  กลุ่มสาร PAH สารนี้จะเกิดระหว่างการเผา ปิ้ง ย่างอาหารโดยใช้ถ่าน หรือแก๊สหุงต้ม  ไนเทรตและไนโทรซามีน ได้แก่  เนื้อเค็ม เนื้อสวรรค์  ปลาแห้ง  สารพิษจากภาชนะพลาสติก  สารกัมมันตรังสี

12 สาเหตุการเกิดสารพิษตกค้างในพืชผัก
เกิดจากพฤติกรรมของผู้บริโภค ผู้ปลูกผักบางรายมีความรู้และประสบการณ์ในเรื่องของสารเคมี เป็นอย่างดีแต่ไม่นำหลักการใช้ที่ถูกต้องไปปฏิบัติหรือละเลยเสีย ผู้ปลูกผักบางรายขาดความรู้ความเข้าใจในการป้องกันกำจัด ศัตรูพืชที่ถูกต้อง

13 ผลกระทบของการใช้สารกำจัดศัตรูพืช
สุขภาพ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ

14 อาการพิษเฉียบพลัน ด้านสุขภาพ
พิษอย่างอ่อน วิงเวียน ปวดหัว หมดเรี่ยวแรง ตาพร่า กระสับกระส่าย เหงื่อออก คลื่นไส้ ท้องเดิน เบื่ออาหาร น้ำหนักลด กระหายน้ำ ปวดตามข้อ มีผื่นคันตามผิวหนัง เคืองตา แสบตา ระคายจมูก ระคายคอ พิษปานกลาง คลื่นไส้ ท้องเดิน น้ำลายฟูมปาก กระเพาะอาหารบีบเกร็ง เหงื่อออกมาก มือสั่น กล้ามเนื้อทำงานไม่ประสานกัน กล้ามเนื้อบิดเกร็ง ตาพร่าจัด หายใจลำบาก ชีพจรเต้นเร็ว ผิวหนังร้อนแดง หรือเป็นสีเหลือง พิษรุนแรง หายใจถี่เร็ว อาเจียน กล้ามเนื้อบิดเกร็ง บังคับไม่ได้ ม่านตาหรี่เล็ก ชัก หายใจไม่ออก หมดสติ

15 อาการพิษเรื้อรัง การเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมของเซลล์ เนื้องอกและมะเร็ง
การเปลี่ยนแปลงของเซลล์ตัวอ่อน ที่อยู่ในครรภ์แม่

16 ผลกระทบต่อระบบต่างๆ ของร่างกาย
ระบบประสาท  ระบบตับ  ระบบกระเพาะอาหาร  ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย  ระบบความสมดุลของฮอร์โมนในร่างกาย

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27 จำนวนผู้ป่วย/เสียชีวิตจากสารพิษอันตรายทางการเกษตรของไทย
ตั้งแต่ปี (คน) 18 33 21 15 11 9 9

28 โรคมะเร็งสูงถึงปีละกว่า 120,000 คน ความดันโลหิตสูง กว่า 800,000 คน
การเจ็บป่วยและเสียชีวิตของคนไทยเนื่องจากพฤติกรรมการบริโภค โรคมะเร็งสูงถึงปีละกว่า 120,000 คน ความดันโลหิตสูง กว่า 800,000 คน โรคระบบทางเดินอาหารปีละกว่า 1 ล้านคน ป่วยเรื้อรังรักษาไม่หายกว่า 10.8 ล้านคน

29 แมลงพัฒนาภูมิต้านทานสารเคมี
ด้านสิ่งแวดล้อม แมลงพัฒนาภูมิต้านทานสารเคมี การทำลายสมดุลของระบบนิเวศ การสะสมของสารเคมีในห่วงโซ่อาหาร

30

31 ต้นทุนผลกระทบต่อเกษตรกร
ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุนผลกระทบต่อเกษตรกร ต้นทุนผลกระทบภายนอกในระดับมหภาค ความเสียหายจากการส่งออก

32

33 สวัสดีค่ะ


ดาวน์โหลด ppt กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google