แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการหาทุนของสหกรณ์ ภาพลักษณ์ของสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนต่อสมาชิกและสาธารณชนทั่วไป องค์กรที่มีความปลอดภัย คุณภาพของผลการดำเนินงานและจัดบริการ ความไว้เนื้อเชื่อใจจากสมาชิกและภายนอก
ระบบการควบคุมภายใน และ ตรวจสอบ วินัยทางการเงิน ระบบการควบคุมการจัดการ ข้อมูลและระบบการจัดการพัฒนาการดำเนินงาน การพัฒนาคุณภาพบุคลากร
นโยบายและแผนงาน ความแข็งแกร่งทางการเงิน การจัดการที่มีมาตรฐาน ความแข็งแกร่งทางการเงิน การจัดการที่มีมาตรฐาน มุ่งกำไรเพื่อนำมาบริการที่ดีกว่าเดิม สร้างเอกลักษณ์เฉพาะพัฒนาขีด ความสามารถการตอบแทนที่เหมาะสม
รากฐานอันมั่นคง
สิ่งนี้เป็นสิ่งที่จำเป็นต้องทำ
วันนี้ ประธานกรรมการ คณะกรรมการ มีส่วนสำคัญ นี่คือวิสัยทัศน์ของเรา ระบบบุคคล ประธานกรรมการ คณะกรรมการ มีส่วนสำคัญ
กระบวนการเปลี่ยนแปลง นี่เป็นสิ่งที่เจ็บปวดแต่ก็จำเป็น............. ข้อบังคับต้องเปลี่ยนแปลง ทบทวนนโยบายเพื่อให้เกิดการพัฒนา พัฒนาผลิตภัณฑ์ / การให้บริการใหม่ๆ มาตรฐาน การรวมสิ่งที่ดีเข้าด้วยกัน
อนาคต สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนของเราโอ่อ่าและเข้มแข็ง ระบบสถาบัน สถาบันเป็นสิ่งที่สำคัญ ระบบขอบข่ายการดำเนินงานต้องได้รับการวางระบบ
แหล่งเงินทุนของสหกรณ์ (ข้อบังคับสหกรณ์ หมวด 3 ข้อ 5) การหาทุนภายในสหกรณ์ การหาทุนภายนอกสหกรณ์
ทุนภายในสหกรณ์ 1. การออกหุ้น (ทุนเรือนหุ้น)จากสมาชิก 2.การรับฝากเงินจากสมาชิก เงินรับฝากออมทรัพย์ เงินรับฝากออมทรัพย์พิเศษ เงินฝากประจำ
3.การออกตั๋วสัญญาใช้เงินและตราสารทางการเงินอื่นจากสมาชิก 4.สะสมทุนสำรอง และทุนอื่นตามข้อบังคับ ทุนรักษาระดับเงินปันผล - ทุนการศึกษา ทุนขยายงาน ทุนเพื่อสร้างสำนักงาน ทุนเพื่อการจัดสวัสดิการให้กับสมาชิก ทุนเพื่อสาธารณประโยชน์ 5.รายได้ต่างๆ
ทุนภายนอกสหกรณ์ รับฝากเงินจากสหกรณ์อื่น ( ม.46 (5) ) เงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากประจำ 2. ออกตั๋วสัญญาใช้เงินและตราสารการเงินอื่นจากบุคคลหรือองค์กรนิติบุคคลหรือหน่วยงานอื่น
3. กู้ยืมจากภายนอก... - ชุมนุมสหกรณ์ - สหกรณ์อื่น - สถาบันการเงิน - หน่วยงาน / องค์กรทางการเงินอื่น 4.รับเงินอุดหนุนหรือทรัพย์สินที่มีผู้ยกให้5.ทุนอื่นตามเงื่อนไข (ภายนอก)
การใช้ไปของเงินทุนสหกรณ์ ให้สมาชิกกู้ยืม ให้สหกรณ์อื่นกู้ยืม
การฝากหรือลงทุน ฝากในชุมนุมสหกรณ์หรือสหกรณ์อื่น ฝากในธนาคารหรือฝากในสถาบันการเงินที่มีวัตถุประสงค์ ซื้อหลักทรัพย์ของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ ซื้อหุ้นของธนาคารที่มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่สหกรณ์ ซื้อหุนของชุมนุมสหกรณ์หรือสหกรณ์อื่น ซื้อหุ้นของสถาบันที่ประกอบธุรกิจอื่นทำให้เกิดความสะดวกหรือส่งเสริมความเจริญแก่สหกรณ์โดยได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์ ฝากหรือลงทุนอย่างอื่นตามทีคณะกรรมการพัฒนาสหกรณ์แห่งชาติกำหนด
การขยายกิจการในสหกรณ์ การวิจัยทดลองค้นคว้าในสหกรณ์ การขยายพื้นที่ขอบเขตในการดำเนินงาน
การให้สินเชื่อในรูปปัจจัยการผลิตให้แก่สมาชิก จ่ายปุ๋ยแก่สมาชิก เมล็ดพันธุ์แก่สมาชิก รถไถนา ฯลฯ
พัฒนาระบบงานภายในของสหกรณ์ให้เกิดความเข้มแข็ง อุปกรณ์เครื่องมือ ระบบเชื่อมโยงเครือข่าย
ชำระหนี้ของสหกรณ์ที่มีอัตราดอกเบี้ยสูง ค่าใช้จ่ายต่างๆ
โครงสร้างทางการเงินที่มีประสิทธิภาพในสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน ทรัพย์สิน หนี้สินและทุน -สภาพคล่องสูงสุดไม่เกิน 20% - เงินรับฝาก 10 – 20% -เงินให้สมาชิกกู้ / ลงทุน 70-75% - เงินสะสม/ค่าหุ้น 70-80% -ทรัพย์สินที่ไม่ก่อเกิดรายได้ไม่เกิน 5% - ทุนสำรองและทุนอื่นๆ อย่างน้อย 10%
ปัจจัยในการพิจารณาตัดสินใจเลือกแหล่งและวิธีการจัดการเงินทุน ความเหมาะสม ความเสี่ยง รายได้ การควบคุม ความเป็นไปได้ จังหวะเวลา